การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (13)

ในขั้นตอนของการสร้างแบบสอบถาม ที่การประมวลทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบโครงสร้างของเครื่องมือโดยกำหนดเป็นโครงสร้างเนื้อหา และตรวจสอบการเขียนข้อความในกลุ่มนักวิจัย และผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก โดยมีการปรับแก้ตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ

อุ้มบุญ (11) ปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับขอบเขตของการอนุญาตให้ใช้เทคนิคเจริญพันธุ์

ในการแก้ไขปัญหาผู้ที่ไม่อาจมีบุตรได้ก็มีเพียงสถาบันการรับรองบุตรบุญธรรมเท่านั้น ซึ่งต้องอาศัยองค์กรฝ่ายบ้านเมืองเป็นผู้ใช้ดุลพินิจในการสนองความปรารถนาของคู่สมรสผู้ต้องการรับบุตรบุญธรรมไว้อุปการะ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (12)

การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นวิธีการวิจัยที่ใช้เพื่อให้เข้าใจปรากฏการณ์ใด ปรากฏการณ์หนึ่งภายใต้เงื่อนไขของบริบท และเวลา ข้อมูลของงานวิจัยเรื่องนี้เป็นข้อมูลที่เก็บจาก กระบวนการจัดการความรู้ ข้อมูลเป็นการแสดงความเห็น ความรู้สึกและบอกเล่าประสบการณ์จากการทำงานของบุคลากรด้านสาธารณสุข และเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (18)

สรุปว่าในการพิจารณาข้อมูลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แม้จะไม่เข้ากับ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ตามกรอบแนวคิดเรื่องอัตตาณัติ อันแอบแฝงอยู่ในแนวคิดเรื่องจิตวิญญาณของตะวันตก และแม้จะมีจุดที่ไปเน้นคุณค่าของบุคคลแทน แต่ในที่สุดก็พบองค์ประกอบที่น่าสนใจ

อุ้มบุญ (10) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

เพราะฉะนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า ตามหลักศาสนาต่างๆ มีความเห็นค่อนข้างสอดคล้องกันว่าการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์จะขัดกับหลักศีลธรรมในกรณีที่มีการทำอันตรายหรือทำลายชีวิตที่เกิดขึ้นแม้ยังพัฒนาไม่ถึงขั้นเป็นมนุษย์ก็ตาม

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (2) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

สุขภาวะทางจิตวิญญาณถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญที่คาดว่ามีบทบาทในการขับเคลื่อนองค์การทั้งระบบสุขภาพ และระบบการศึกษา เพื่อสุขภาวะที่ดีอย่างเป็นองค์รวมทั้งสุขภาวะทางกาย ทางจิต และทางสังคมของบุคคล ช่วยลดความตึงเครียด

1 27 28 29 30 31 50