“ไทยพับลิกาสัมภาษณ์มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์เรื่องการศึกษาไทย” http://thaipublica.org/2014/10/prasert-thaissf-education-reform/ ตอนที่ 4

สนทนาเรื่องนักเรียนทุกวัน หลักสูตรต้องการให้นักเรียนเรียนรู้อะไร เราจะออกแบบการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างไร ที่ออกแบบและทดลองทำไปแล้ว นักเรียนได้รู้สิ่งที่ต้องจริงหรือเปล่า และนักเรียนได้เพิ่มพูนความสามารถในการเรียนรู้และการใช้ชีวิตจริงหรือไม่

“ไทยพับลิกาสัมภาษณ์มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์เรื่องการศึกษาไทย” http://thaipublica.org/2014/10/prasert-thaissf-education-reform/ ตอนที่ 2

โครงการโรงเรียนต้นแบบ ก็คือเราเอาโรงเรียนในกระทรวงศึกษาธิการ 5 โรง ในชนบท ที่เขาทำ PBL อยู่แล้วไม่มากก็น้อย โดยมีผู้อำนวยการสนับสนุน เอาเขามาทำเวิร์กชอปด้วยกันหลายครั้ง เพื่อทำให้เขาจัดเจนว่า PBL มันแปลว่าอะไร แล้วคุณสมบัติของ PBL หรือองค์ประกอบของสิ่งที่เรียกว่า PBL มีอะไรบ้าง

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (4) บทนำ

องค์การที่ได้นำเทคนิคในเรื่องจิตวิญญาณมาใช้เป็นพื้นฐานในการทำงาน จะมีการพัฒนาผลผลิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Colin, 1999 อ้างถึงใน Robbins, 2005) และยังพบว่า องค์การที่ให้บุคลากรหรือพนักงานมีโอกาสพัฒนาจิตวิญญาณจะมีผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าองค์การที่พนักงานไม่มีโอกาส

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (19)

ทางออกสำหรับประเด็นข้างต้นดูจะง่าย นั่นคือ เสนอแนะให้นำเนื้อหามาพิจารณาด้วย ซึ่งไม่น่าจะมีข้อขัดข้อง โดยเฉพาะเมื่อพิจารณาว่าเป็นการสังเคราะห์ความรู้ อย่างไรก็ตาม ปัญหาต่อไปก็คือแนวคิดเรื่อง “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ซึ่งมีบทบาทในการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (3) บทคัดย่อ

กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เมตตากรุณา มีเป้าหมายและพอเพียง ให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์ อ่อนน้อมถ่อมตน ให้อภัย และมีความเป็นมิตร แบบวัดที่ได้มีค่าความเชื่อมั่น และมีอำนาจจำแนกอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ผลจากการพัฒนาในครั้งนี้คณะผู้วิจัยสามารถสร้างคู่มือการประเมินสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (2) บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

สุขภาวะทางจิตวิญญาณถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญที่คาดว่ามีบทบาทในการขับเคลื่อนองค์การทั้งระบบสุขภาพ และระบบการศึกษา เพื่อสุขภาวะที่ดีอย่างเป็นองค์รวมทั้งสุขภาวะทางกาย ทางจิต และทางสังคมของบุคคล ช่วยลดความตึงเครียด

1 2