การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (12)

การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นวิธีการวิจัยที่ใช้เพื่อให้เข้าใจปรากฏการณ์ใด ปรากฏการณ์หนึ่งภายใต้เงื่อนไขของบริบท และเวลา ข้อมูลของงานวิจัยเรื่องนี้เป็นข้อมูลที่เก็บจาก กระบวนการจัดการความรู้ ข้อมูลเป็นการแสดงความเห็น ความรู้สึกและบอกเล่าประสบการณ์จากการทำงานของบุคลากรด้านสาธารณสุข และเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (11)

ข้อมูลจะถูกลดความสำคัญลงมาสู่ระดับที่เป็นเพียงสิ่งที่นักวิจัยกำหนดเอาไว้ก่อนเท่านั้น ดังจะเห็นได้ในกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องแม่นตรงของมโนทัศน์และทฤษฏีที่สร้างขึ้น ซึ่งนักวิจัยกำหนดเอาเฉพาะข้อมูลที่เข้าข่ายในการตรวจสอบเท่านั้น การวิจัยเหล่านี้ยึดแนวทางวัตถุวิสัย

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (10)

ถึงจุดอิ่มตัวแล้ว ซึ่งจะหมายถึงความเข้ากันได้อย่างเหมาะสมกับข้อมูลใหม่ ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะมาจากตัวอย่างชุดไหนก็ตาม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สมมติฐานไม่ได้ถูกท้าทายจากข้อมูลใหม่อีกต่อไป ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นที่จะปรับอีก