อุ้มบุญ (35) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 4

ครอบครัวต้องการกำลังแรงงานมาช่วย และอาจนำความรุ่งเรืองมาสู่ครอบครัวนั้นๆ แม้ในปัจจุบัน ที่สังคมเกษตรกรรมมีน้อยลง ลักษณะทางเศรษฐกิจที่รัดตัว สภาพทางสังคมที่มีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นมากมายจนมีคู่สมรสหลายคู่ไม่ต้องการมีบุตร หรือ”ไม่มั่นใจที่จะเลี้ยงดูให้ดีในสภาพแบบนี้ได้” ได้ยกเลิกความคิดที่จะมีบุตร

อุ้มบุญ (24) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

สถานะทางกฏหมายของเซลล์สืบพันธุ์ ตัวอ่อน มีความสำคัญต่อการพิจารณาระดับความคุ้มครองทางกฎหมาย เมื่อมีข้อพิพาท รวมถึงกรณีของผู้ใช้สิทธิดำเนินการต่อสิ่งเหล่านี้ และสิทธิของตัวอ่อนและเด็กที่อาจเกิดขึ้น

อุ้มบุญ (11) ปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับขอบเขตของการอนุญาตให้ใช้เทคนิคเจริญพันธุ์

ในการแก้ไขปัญหาผู้ที่ไม่อาจมีบุตรได้ก็มีเพียงสถาบันการรับรองบุตรบุญธรรมเท่านั้น ซึ่งต้องอาศัยองค์กรฝ่ายบ้านเมืองเป็นผู้ใช้ดุลพินิจในการสนองความปรารถนาของคู่สมรสผู้ต้องการรับบุตรบุญธรรมไว้อุปการะ

อุ้มบุญ (3) การสร้างเครือข่ายนักกฎหมาย

ที่ประชุมมีการอภิปรายกันในประเด็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งคณะกรรมการเพื่อการควบคุมดูแลการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นการแต่งตั้งตามกฎหมายและเป็นการตั้งโดยคณะกรรมการเป็นไปโดยตำแหน่ง ทำให้หลายฝ่ายเป็นห่วงว่า คณะกรรมการดังกล่าวอาจจะไม่มีความรู้เพียงพอ ควรพิจารณาให้ทางแพทยสภาหรือราชวิทยาลัยสูตินารีแพทย์ เข้ามาดูแลเรื่องนี้แทน

อุ้มบุญ (2) กฎหมายชีวจริยธรรม (ต่อ)

การตั้งครรภ์แทน ควรจะอนุญาตให้มีการตั้งครรภ์แทนได้ แต่ห้ามให้กระทำเชิงพาณิชย์ โดยต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิให้เข้ารับบริการ ต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะมาตั้งครรภ์แทน ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าควรจะเป็นญาติสนิท รวมถึงจะต้องมีการให้ความรู้กับผู้ที่มารับตั้งครรภ์แทนด้วยว่าจะเกิดผล

อุ้มบุญ (1) กฎหมายชีวจริยธรรม

ศึกษาทบทวนและระบุปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ วิเคราะห์ช่องว่างหรือความไม่เหมาะสมของกฎหมายของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเสนอแนวทางตลอดจนหลักการและเหตุผลในการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง