บทบาทสื่อสร้างการเรียนรู้คุณธรรมใน 5 ประเทศ

พิทักษ์ โสตถยาคม นักวิชาการศึกษา กลุ่มวิจัยและส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เจือจันทร์ จงสถิตอยู่ และรุ่งเรือง สุขาภิรมย์ (2550) ที่ได้สังเคราะห์งานวิจัยคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของประเทศต่างๆ รวม 10 ประเทศ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (20)

คุณธรรม และที่แต่ละคนมีต่างกันไป ได้แก่ ความสำเร็จจากระดับความสามารถที่แตกต่างกันไป แต่เป็นเรื่องไม่น่าคาดถึงว่าข้อมูลในส่วนที่แสดงความหมายของ “ศักดิ์ศรี” แบบไทยกลับให้แนวทางการเชื่อมโยงสู่ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ที่เข้าใจตามกรอบแนวคิดเรื่องอัตตาณัติ นั่นคือ “กล้าทำ กล้ารับ”

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (18)

สรุปว่าในการพิจารณาข้อมูลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แม้จะไม่เข้ากับ “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ตามกรอบแนวคิดเรื่องอัตตาณัติ อันแอบแฝงอยู่ในแนวคิดเรื่องจิตวิญญาณของตะวันตก และแม้จะมีจุดที่ไปเน้นคุณค่าของบุคคลแทน แต่ในที่สุดก็พบองค์ประกอบที่น่าสนใจ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (8)

ความรัก ความปรารถนาดี ต้องการช่วยเหลือผู้อื่นประสบความสุข 2) มีกรุณาต่อผู้อื่น คือ มีความสงสารอยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ ใส่ใจที่จะบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของผู้อื่น 3) มีมุฑิตาต่อผู้อื่น คือ มีความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีใจแช่มชื่น