อุ้มบุญ (51) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 6

“ตาย” ตามกฎหมายในพจนานุกรมไม่เหมาะสำหรับที่แพทย์จะมาใช้ในเรื่องการปลูกถ่ายอวัยวะที่เทคโนโลยีมันไปไกลกว่านั้นมาก ขณะนี้คำว่าตายจะมีคำจำกัดความเพิ่มขึ้นแล้วว่า หมายถึงสมองตายด้วย

อุ้มบุญ(50)การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 5

แม้ครอบครัวที่เป็นต้นแบบก็ปัจจุบันก็ไม่ได้แข็งแรง ในแง่ของคู่สมรสที่ไม่ได้จดทะเบียนตามกฎหมายหรือคู่สมรสที่ไม่ได้ถูกต้องตามกฎหมายว่าควรจะมีสิทธิด้วยหรือไม่ ก็คิดว่าก็ควรมีสิทธิ แต่ว่าต้องมีเงื่อนไขคือ เช่น จะต้องมีผู้ให้ปรึกษาเข้าร่วม อาจจะมีนักสังคม จิตแพทย์ เข้ามาช่วย ดิฉันคิดว่าผู้ที่เป็นเพศเดียวกันก็อาจปรับใช้เงื่อนไขนี้ เป็นการเปิดโอกาส

อุ้มบุญ(48) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 3

แม้ว่าส่วนใหญ่ ที่ประชุมเห็นว่าตัวอ่อนเป็นทรัพย์สิน แต่เป็นทรัพย์สินที่สามารถพัฒนาเป็นชีวิตได้แต่ยังไม่เสนอคำจำกัดความที่ชัดเจนว่า ทรัพย์สินที่สามารถพัฒนาเป็นชีวิตได้มีความหมายอย่างไร แต่ควรจะมีข้อกำหนดเฉพาะในเรื่องทรัพย์สินที่สามารถพัฒนาเป็นชีวิตได้แตกต่างกับข้อกำหนดเรื่องทรัพย์สินทั่วไปด้วย

อุ้มบุญ (47) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 2

เทคนิคที่จะมาใช้เพื่อการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก โดยความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวกับเซลล์สืบพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นด้านไข่หรือเชื้ออสุจิ ในปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์หลายรูปแบบ

อุ้มบุญ (45) บรรยายพิเศษเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ตอนที่ 2

พ่อแม่ที่แท้จริงซึ่งเป็นเจ้าของพันธุกรรม มีต้องการจะเป็นพ่อแม่ตามสูติบัตรด้วย ซึ่งยังเป็นไปไม่ได้ตามกฎหมายไทย จึงใช้วิธีเมื่อเด็กคลอดแจ้งชื่อบิดา-มารดาเจ้าของพันธุกรรม แทนชื่อของบิดา-มารดารที่รับตั้งครรภ์แทน ทำให้มีปัญหาในแง่ของการแจ้งความเท็จ ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ

อุ้มบุญ (44) บรรยายพิเศษเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ตอนที่ 1

การใช้เชื้ออสุจิบริจาค ซึ่งก็จะมีปัญหาทางด้านกฎหมายตามมาว่าใครจะมีสิทธิเป็นบิดาของเด็กที่เกิดมาด้วยวิธีนี้ แต่หากเป็นการผสมเทียมที่ใช้เชื้อของสามีแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่เกิดปัญหา

1 2 3 4 5