อุ้มบุญ (43) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 12

รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน

โดย น.พ. ปราโมทย์ สุคนิชย์

สิงหาคม 2548


บรรณานุกรม

เผยแพร่ 17 พฤศจิกายน 2557

1. Ciccarelli J, Beckman L. Navigating rough waters: An overview of psychological aspects of surrogacy. J of Social Issues. 2005;61: 21-43.

2. Edelmann RJ. Surrogacy: the psychological issues. J Reprod Infant Psychol 2004;22:123-36.

3. The ESHRE Capri Workshop Group. Social determinants of human reproduction. Hum Reprod 2001;16:1518-26.

4. ประมวล วีรุตมเสน. พระราชบัญญัติการคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์. รายงานจากการประชุมวิชาการประจำปี 2548 ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมอนามัยการเจริญพันธุ์(ไทย)และชมรมเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์แห่งประเทศไทย โรงแรมเอเชีย กรุงเทพ 18-20 พฤษภาคม 2548.

อุ้มบุญ (42) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 11

นอกจากนี้ ลักษณะการศึกษาวิจัยมีจำนวนตัวอย่างประชากรที่ไม่มาก และส่วนมาก ยังเป็นกลุ่มที่ได้รับการคัดเลือกโดยองค์กร หรือ agency มาแล้ว มาเป็นผู้ให้ข้อมูล ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างไปอย่างมาก อาจทำให้มีความโน้มเอียงของข้อมูลที่ได้ไปในทางบว

อุ้มบุญ (41) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 10

รตกลงใดๆระหว่างผู้ร่วมกระบวนการทั้งหมดควรบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แม้จะยังไม่มีกฎหมายบังคับ ( ซึ่งกฎหมายควรเป็นกลางกับทั้ง CC และ SM ) การปฏิบัติ surrogacy หากทำในวงกว้างต่อไป ไม่อาจเชื่อถือกับคำสัญญา ความไว้เนื้อเชื่อใจส่วนตัว ได้อีกต่อไป

อุ้มบุญ (40) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 9

เมื่อมีเทคโนโลยีดังกล่าวเกิดขึ้น นอกจากกลุ่มรักร่วมเพศที่สนใจและปรารถนามีบุตรของตนเองแล้ว ยังมีกลุ่มผู้ที่มาขอรับบริการในกรณีพิเศษต่างๆอีกหลายกลุ่ม ซึ่งเรียกร้องสิทธิทั้งทางกฎหมายและความเข้าใจจากสังคมมาขอเข้ารับบริการด้วย อันได้แก่ ผู้หญิงที่เป็นโสด คู่สามีภรรยาที่มีโรคติดต่อไม่อาจมีเพศสัมพันธ์ได้

อุ้มบุญ (39) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 8

แม้ว่าสังคมและกฎหมายจะมีความเชื่อว่า กลุ่มรักร่วมเพศมีความแตกต่างจากผู้ปกครองทั่วไป และจะส่งผลต่อเจตคติการเลี้ยงดูบุตร แต่ผลจากงานวิจัยเบื้องต้นที่พบก็คือ ชายรักร่วมเพศกลับมีความใส่ใจรักเลี้ยงดูบุตรในด้าน การส่งเสริมความเป็นตัวของตัวเอง การเล่นหย่อนใจ และจัดการกับปัญหาการเป็นผู้ปกครองทั่วไปได้ไม่ต่างจากพ่อแม่ทั่วไป

อุ้มบุญ (38) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 7

ในทรรศนะของนักสังคมวิทยาบางคน และนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีบางคน การเกิดมี surrogacy ขึ้นได้ในสังคม จึงเป็นการทำให้มนุษย์รู้ว่า เรื่อง“สัญชาตญาณความเป็นแม่” นั้นไม่มีอยู่จริง เพราะไม่เพียงแต่จะสามารถตั้งครรภ์และคลอดโดยยกบุตรให้คนอื่นได้

1 2 3 4 5