อุ้มบุญ (26) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

จากข้อจำกัดของกฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีความพยายามจากหลายฝ่ายที่จะจัดทำร่างกฎหมายเพื่อใช้ควบคุมกำกับการดำเนินงานด้านอนามัยเจริญพันธุ์ แต่ความก้าวหน้าของกระบวนการและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่งผลกระทบกว้างขวางยิ่งไปกว่าความพยายามที่กำลังดำเนินการอยู่

อุ้มบุญ (25) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

ตรวจวินิจฉัยป้องกันทารกไม่ให้เกิดมาพร้อมกับโรคทางพันธุกรรม ในทางปฏิบัติแพทย์จะเลือกนำตัวอ่อนเฉพาะที่ตรวจไม่พบโรคทางพันธุกรรมนั้นๆ ใส่กลับเข้าไปในร่างกาย และด้วยวิธีดังกล่าวยังสามารถใช้ในการตรวจคัดเลือกเพศของตัวอ่อนได้ไปพร้อมกัน

อุ้มบุญ (19) ปัญหากฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวที่เกิดขึ้น (ต่อ)

เมื่อคู่สมรสไม่ให้ความยินยอมย่อมมีผลทางกฎหมายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสถานการณ์ กล่าวคือ การไม่ให้ความยินยอมโดยคู่สมรสของผู้ว่าจ้าง ไม่น่าจะเข้าข่ายเป็นเหตุในการฟ้องหย่าได้ แต่อาจเกิดปัญหาในการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเนื่องจากต้องอาศัยความยินยอมของคู่สมรส

อุ้มบุญ (5) สถานการณ์และสภาพปัญหาของการปฏิสนธิเทียม

ความต้องการมีบุตรไว้สืบสกุล เป็นสาเหตุสำคัญที่คู่สมรสได้ฝากความหวังไว้กับแพทย์ที่จะช่วยให้สมประสงค์ อาจกล่าวได้โดยความคิดของคนทั่ว ๆ ไป การมีบุตรเป็นส่วนประกอบสำคัญของชีวิตสมรสและความเป็นครอบครัว บางครอบครัวกังวลมากกับการไม่มีบุตรและเป็นความรู้สึกที่เป็นทุกข์

อุ้มบุญ (3) การสร้างเครือข่ายนักกฎหมาย

ที่ประชุมมีการอภิปรายกันในประเด็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งคณะกรรมการเพื่อการควบคุมดูแลการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นการแต่งตั้งตามกฎหมายและเป็นการตั้งโดยคณะกรรมการเป็นไปโดยตำแหน่ง ทำให้หลายฝ่ายเป็นห่วงว่า คณะกรรมการดังกล่าวอาจจะไม่มีความรู้เพียงพอ ควรพิจารณาให้ทางแพทยสภาหรือราชวิทยาลัยสูตินารีแพทย์ เข้ามาดูแลเรื่องนี้แทน

อุ้มบุญ (2) กฎหมายชีวจริยธรรม (ต่อ)

การตั้งครรภ์แทน ควรจะอนุญาตให้มีการตั้งครรภ์แทนได้ แต่ห้ามให้กระทำเชิงพาณิชย์ โดยต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิให้เข้ารับบริการ ต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะมาตั้งครรภ์แทน ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าควรจะเป็นญาติสนิท รวมถึงจะต้องมีการให้ความรู้กับผู้ที่มารับตั้งครรภ์แทนด้วยว่าจะเกิดผล

1 3 4 5