อุ้มบุญ (57) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 12

ต้องการมีลูกคนเดียวแล้วพอ หรือการมีลูกคนหนึ่งแล้วต้องการอีกคนหนึ่งแล้วพอ คือมีข้อกำหนดที่ออกมาชัดเจน ในแง่ของการคัดเลือกพันธุกรรมค่อนข้างจะลำบากในการตัดสินใจ ในทางปฏิบัติจริง ก็มีการเลือกอย่างกลายๆ อยู่แล้วว่า เพราะในแง่ผู้ปฎิบัติเราก็อยากให้คนไข้ที่มาทำกับเราท้องให้มากที่สุด เพราะฉะนั้นเราต้องเลือกสิ่งที่ดีที่สุดให้กับคนไข้

อุ้มบุญ(49) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 4

ไม่ยอมรับว่าสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากส่วนของมนุษย์เป็นทรัพย์ เพราะจะกระทบว่ามนุษย์จะเป็นทรัพย์ได้อย่างไร ในเมื่อมนุษย์ไม่เป็นทรัพย์ เพราะฉะนั้นส่วนของมนุษย์ก็ไม่น่าเป็นทรัพย์ด้วย แต่ว่าจะละเลยไม่ดูแลเลยก็เป็นไปไม่ได้ จึงควรที่จะคุ้มครองในระดับหนึ่ง

อุ้มบุญ (44) บรรยายพิเศษเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ตอนที่ 1

การใช้เชื้ออสุจิบริจาค ซึ่งก็จะมีปัญหาทางด้านกฎหมายตามมาว่าใครจะมีสิทธิเป็นบิดาของเด็กที่เกิดมาด้วยวิธีนี้ แต่หากเป็นการผสมเทียมที่ใช้เชื้อของสามีแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่เกิดปัญหา

อุ้มบุญ (23) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะนำเทคโนโลยีโคลนนิ่งมาช่วยในการรักษา (Therapeutic Cloning) แพทย์จะนำนิวเคลียสเซลล์จากผู้ป่วยเพื่อนำมาเป็นต้นแบบสำเนา เพื่อให้เซลล์ต้นตอที่เกิดขึ้นมีพันธุกรรมเดียวกันกับผู้รับ ลดปัญหาการต่อต้านจากร่างกาย