อุ้มบุญ (38) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 7

ในทรรศนะของนักสังคมวิทยาบางคน และนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีบางคน การเกิดมี surrogacy ขึ้นได้ในสังคม จึงเป็นการทำให้มนุษย์รู้ว่า เรื่อง“สัญชาตญาณความเป็นแม่” นั้นไม่มีอยู่จริง เพราะไม่เพียงแต่จะสามารถตั้งครรภ์และคลอดโดยยกบุตรให้คนอื่นได้

อุ้มบุญ (37) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 6

น้ำหนักของความสัมพันธ์ระหว่าง SM กับ CC นั้นมักอยู่ที่ฝ่ายภรรยาของ CC กับ SM เป็นส่วนใหญ่ โดยทั้งคู่จะเหมือนเป็นหญิงสองคนที่ได้เข้าใจและแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้สึกต่อกัน

อุ้มบุญ (36) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 5

ร้อยละ 52 ที่เลือก surrogacy เนื่องจากไม่มีทางมีบุตรด้วยวิธีอื่นแล้ว เช่น ไม่มีมดลูก แต่ไม่เลือกการรับบุตรบุญธรรมเพราะต้องการมีลูกที่มีพันธุกรรมเกี่ยวข้องกัน ส่วนอีกร้อยละ 14 ล้มเหลวในการทำ IVF มาแล้ว ร้อยละ 7 ล้มเหลวในการขอรับบุตรบุญธรรม

อุ้มบุญ (35) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 4

ครอบครัวต้องการกำลังแรงงานมาช่วย และอาจนำความรุ่งเรืองมาสู่ครอบครัวนั้นๆ แม้ในปัจจุบัน ที่สังคมเกษตรกรรมมีน้อยลง ลักษณะทางเศรษฐกิจที่รัดตัว สภาพทางสังคมที่มีปัญหาต่างๆเกิดขึ้นมากมายจนมีคู่สมรสหลายคู่ไม่ต้องการมีบุตร หรือ”ไม่มั่นใจที่จะเลี้ยงดูให้ดีในสภาพแบบนี้ได้” ได้ยกเลิกความคิดที่จะมีบุตร

อุ้มบุญ (32) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 1

การรับตั้งครรภ์แทนยังถือเป็นสิ่งใหม่สำหรับสังคมมนุษย์ ซับซ้อนกว่าการรับบุตรบุญธรรมเดิม หรือการช่วยให้มีบุตรด้วยเทคโนโลยีทั่วไป แม้ว่า การทบทวนเอกสารที่เสนอ ไม่พบผลลบที่ชัดเจนจากกระบวนการนี้ต่อบุคคลผู้เกี่ยวข้อง แต่การศึกษาไม่พบปัญหา

อุ้มบุญ (31) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์ (ต่อ)

ควรจะให้คำจำกัดความของตัวอ่อน โดยเห็นว่าเมื่ออสุจิผสมกับไข่ ช่วงที่เป็นระยะบลาสโตซิส เป็นระยะที่มีกลุ่มเซลล์นั้นยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นลักษณะที่เป็นอวัยวะ จึงมีความเห็นว่า ในระยะดังกล่าวตัวอ่อนน่าจะเป็นเนื้อเยื่อ (Tissue) ยังไม่ถือว่าเป็นระยะที่มีชีวิต

1 2 3 4 5 6