อุ้มบุญ (29) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

องค์กรที่รับผิดชอบ ควรร่วมกันหลายหน่วยงาน แพทยสภาเองมักจะเป็นผู้ถูกกำหนดให้เป็นผู้ชี้ถูกผิด สำนักงานอัยการสูงสุด ซึ่งมักจะเป็นผู้ถูกให้ออกกฎหมาย แต่จะต้องมีอีกฝ่ายหนึ่งคือตัวแทนประชาชนหรือผู้ที่ได้รับการคัดสรรเพื่อที่จะออกความคิดเห็น

อุ้มบุญ (28) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ในประการต่อไปเป็นเรื่องขององค์กรว่า องค์กรที่จะต้องเข้ามาควบคุมกำกับดูแลในเรื่องนี้นั้นต้องมีเฉพาะหรือไม่ หรือจะปล่อยให้มีการกำหนดกฎหมายในลักษณะเป็นคำแนะนำหรือข้อควรปฏิบัติ (guideline) แล้วปล่อยให้ทางวิทยาศาสตร์หรือทางการแพทย์นั้นดูเป็นระยะๆ

อุ้มบุญ (26) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

จากข้อจำกัดของกฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีความพยายามจากหลายฝ่ายที่จะจัดทำร่างกฎหมายเพื่อใช้ควบคุมกำกับการดำเนินงานด้านอนามัยเจริญพันธุ์ แต่ความก้าวหน้าของกระบวนการและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่งผลกระทบกว้างขวางยิ่งไปกว่าความพยายามที่กำลังดำเนินการอยู่

อุ้มบุญ (24) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

สถานะทางกฏหมายของเซลล์สืบพันธุ์ ตัวอ่อน มีความสำคัญต่อการพิจารณาระดับความคุ้มครองทางกฎหมาย เมื่อมีข้อพิพาท รวมถึงกรณีของผู้ใช้สิทธิดำเนินการต่อสิ่งเหล่านี้ และสิทธิของตัวอ่อนและเด็กที่อาจเกิดขึ้น

อุ้มบุญ (23) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะนำเทคโนโลยีโคลนนิ่งมาช่วยในการรักษา (Therapeutic Cloning) แพทย์จะนำนิวเคลียสเซลล์จากผู้ป่วยเพื่อนำมาเป็นต้นแบบสำเนา เพื่อให้เซลล์ต้นตอที่เกิดขึ้นมีพันธุกรรมเดียวกันกับผู้รับ ลดปัญหาการต่อต้านจากร่างกาย

อุ้มบุญ (16) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

การนำตัวอ่อนที่ปฏิสนธิแล้วไปทำการทดลอง ซึ่งมีข้อถกเถียงเรื่องความเหมาะสมเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีข้อขัดแย้งระหว่างแนวคิด 2 ขั้ว กล่าวคือ ในด้านหนึ่ง การทดลองเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ในตัวเองเพราะสามารถใช้ให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านการแพทย์

1 3 4 5 6