อุ้มบุญ (4) บทนำ

อย่างไรก็ดีปัญหาที่เกิดขึ้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละกรณีและวิธีการที่ใช้ ดังนั้นจึงควรวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพปัญหาของการปฏิสนธิเทียมโดยการศึกษาวิธีการต่างๆที่นำมาใช้ สาเหตุและความจำเป็นในการนำเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์มาใช้

อุ้มบุญ (3) การสร้างเครือข่ายนักกฎหมาย

ที่ประชุมมีการอภิปรายกันในประเด็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งคณะกรรมการเพื่อการควบคุมดูแลการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นการแต่งตั้งตามกฎหมายและเป็นการตั้งโดยคณะกรรมการเป็นไปโดยตำแหน่ง ทำให้หลายฝ่ายเป็นห่วงว่า คณะกรรมการดังกล่าวอาจจะไม่มีความรู้เพียงพอ ควรพิจารณาให้ทางแพทยสภาหรือราชวิทยาลัยสูตินารีแพทย์ เข้ามาดูแลเรื่องนี้แทน

อุ้มบุญ (2) กฎหมายชีวจริยธรรม (ต่อ)

การตั้งครรภ์แทน ควรจะอนุญาตให้มีการตั้งครรภ์แทนได้ แต่ห้ามให้กระทำเชิงพาณิชย์ โดยต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิให้เข้ารับบริการ ต้องกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะมาตั้งครรภ์แทน ซึ่งส่วนใหญ่เห็นว่าควรจะเป็นญาติสนิท รวมถึงจะต้องมีการให้ความรู้กับผู้ที่มารับตั้งครรภ์แทนด้วยว่าจะเกิดผล

อุ้มบุญ (1) กฎหมายชีวจริยธรรม

ศึกษาทบทวนและระบุปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ วิเคราะห์ช่องว่างหรือความไม่เหมาะสมของกฎหมายของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเสนอแนวทางตลอดจนหลักการและเหตุผลในการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฎีเซลล์กระจกเงา กับการเรียนรู้ (2)

เป็นเรื่องที่เราต้องการให้สังคมรับรู้ คือ ในเรื่องของการอบรมกล่อมเกลาเด็กว่า เราต้องการสร้างตัวอย่างที่ดีให้มากกว่านี้เพื่อสมองของเด็กจะได้เลียนแบบส่วนเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ คือส่วนที่เรานำเสนอปัญหาจริยธรรมที่รุนแรงมาก และได้ค้นพบว่า ในเด็กหลังคลอดเพียงไม่กี่ชั่วโมง

ทฤษฎีเซลล์กระจกเงา กับการเรียนรู้

ทฤษฎีการพัฒนามนุษย์ คำว่า “พัฒนา” หมายถึงการพัฒนาทั้งในเรื่องของสติปัญญา อารมณ์ บุคลิกภาพ คุณธรรม ในความหมายของทฤษฎีนี้ยกเว้นการพัฒนาทางด้านความแข็งแรงของร่างกายและมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่สำคัญคือ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม

1 8 9 10 11 12 15