พรุ่งนี้…ก็ทำได้เลย (ต่อ)

จุดหนึ่งที่คุยกับเด็ก คือเด็กไม่ชอบเรียนภาษาไทย มันต้องอ่านเยอะ ต้องเขียนมาก นี่คือสิ่งที่เด็กบอก เรามานั่งมองว่า เราอยากให้เด็กเรียนภาษาไทยอย่างสนุก และชอบเรียน เราจะทำอย่างไร ภาษาไทยเป็นภาษาพื้นฐาน ที่เด็กจะต้องเอาไปเรียนรู้วิชาต่างๆ ก็เริ่มวิธีการของตัวเอง

ปฎิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (10) พรุ่งนี้…ก็ทำได้เลย

แรกทีเดียวผู้เขียนคิดว่า โจทย์การเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชุมชนนั้น ต้องเป็นโจทย์ที่ใหญ่มาก คุณครูทำให้เห็นว่า การออกแบบการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับชุมชนเป็นเรื่องไม่ยาก และมีความเป็นไปได้ที่จะทำสำเร็จ แน่นอนแรกๆ อาจชุลมุนกันอยู่บ้างกับการทำความเข้าใจ ตีโจทย์ชุมชนมีกรอบหรือความหมายอย่างไร

ปฏิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (9) เราเรียนรู้…เพื่อเอาไปใช้ชีวิต (ต่อ)

ก็มีคุณครูภาษาอังกฤษนี่’ ตอนนำเสนอครูอ้อยจำได้เลยว่า เขาพูดว่า ‘ถ้าใช้ดินสอประหยัดจะเป็นการอนุรักษ์โลก เป็นภาษาอังกฤษ’ เขาก็ได้ไปเลยภาษาอังกฤษ คำศัพท์ไม่ต้องท่องแล้ว มันจะได้มา ไม่ได้อยู่ในวัตถุประสงค์ แต่มันได้เกิน บูรณาการมาตรฐานสากล คณิตศาสตร์ก็ได้

ปฏิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (3) พัฒนาโรงเรียนต้นแบบในศตวรรษที่ 21 ด้วยเรื่องเล่า

เด็กได้ทักษะ โดยที่เราก็ไม่ต้องไปเน้นย้ำ คำถามที่ดีต้องเป็นอย่างนี้นะ ผลพลอยได้ เด็ก ป.๒ จะได้ภาษาไทยที่ยากขึ้น เช่น เทคนิคการตั้งคำถาม ประโยคคำถามไม่รู้ตัวเลย คำถามปลายเปิดด้วยนะ ทำไม อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้หายอีก ถ้าไม่หายแล้วจะเกิดประโยชน์แก่ตัวเอง แก่ผู้อื่นอย่างไร

6 การศึกษาในศตวรรษที่21เสริมพัฒนาการเด็กอย่างไร

โรงเรียนที่ดี ครูที่ดี โดยเฉพาะสำหรับชั้นเด็กเล็ก การออกแบบกิจกรรมหรือบทเรียนให้เด็กเล็กได้ทำงานเป็นทีมในทุกๆวันจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก อาจจะเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดสำหรับการปฏิวัติการศึกษา

5 เด็กได้อะไรจากปฏิรูปการศึกษา

โรงเรียนทางเลือกหลายแห่งพิสูจน์แล้วว่าสามารถสร้างผลผลิตคือนักเรียนที่ดี แต่ติดขัดที่ค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายยังสูงเกินกว่าที่พ่อแม่ส่วนใหญ่ของประเทศจะรับได้ ดังนั้นเราควรเรียกร้องและผลักดันให้โรงเรียนในระบบทั้งหมดเปลี่ยนตนเองเป็นโรงเรียนทางเลือกที่มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้โจทย์ปัญหาเป็นฐาน

1 2