ปฏิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (2) ทางรอด หรือ ทางเลือก

องค์กรสนับสนุนการศึกษา นักวิชาการการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ภาคธุรกิจเอกชน ผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ ว่าจะเป็นทางออกในการขับเคลื่อนการศึกษาออกไปจากวิธีการเรียนรู้แบบเดิม ไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต

“ไทยพับลิกาสัมภาษณ์มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์เรื่องการศึกษาไทย” http://thaipublica.org/2014/10/prasert-thaissf-education-reform/ ตอนที่ 3

research on project อย่าทำโครงการเปล่าๆ ทำวิจัยคู่ไป พิสูจน์ให้คนภายนอกเห็น พิสูจน์ให้คนอื่นเห็น ว่าเด็กที่อยู่กับไอที “ดี” เพราะคนกลัวเรื่องนี้กลัวเล่นเกม กลัวนั่นนี่ ซึ่งคือมันก็จริง เราไปตามร้านอาหารจะพบภาพพ่อแม่ก้มหน้าเขี่ย และเด็กมีแท็บเล็ตก็ก้มหน้าเขี่ย เราพบเด็กนิ่งๆ เพราะแท็บเล็ต เต็มไปหมด มันก็ไม่ดีหรอก

“ไทยพับลิกาสัมภาษณ์มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์เรื่องการศึกษาไทย” http://thaipublica.org/2014/10/prasert-thaissf-education-reform/ ตอนที่ 2

โครงการโรงเรียนต้นแบบ ก็คือเราเอาโรงเรียนในกระทรวงศึกษาธิการ 5 โรง ในชนบท ที่เขาทำ PBL อยู่แล้วไม่มากก็น้อย โดยมีผู้อำนวยการสนับสนุน เอาเขามาทำเวิร์กชอปด้วยกันหลายครั้ง เพื่อทำให้เขาจัดเจนว่า PBL มันแปลว่าอะไร แล้วคุณสมบัติของ PBL หรือองค์ประกอบของสิ่งที่เรียกว่า PBL มีอะไรบ้าง

6 การศึกษาในศตวรรษที่21เสริมพัฒนาการเด็กอย่างไร

โรงเรียนที่ดี ครูที่ดี โดยเฉพาะสำหรับชั้นเด็กเล็ก การออกแบบกิจกรรมหรือบทเรียนให้เด็กเล็กได้ทำงานเป็นทีมในทุกๆวันจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก อาจจะเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดสำหรับการปฏิวัติการศึกษา

ทักษะในศตวรรษที่ 21

เด็กไทยควรกล้าตั้งข้อสงสัย ตั้งคำถาม ใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนรู้ได้จากทุกที่ทุกเวลา สามารถทำงานเป็นทีม มีความคิดสร้างสรรค์ และมีนวัตกรรม ในขณะเดียวกันรู้จุดหมายของชีวิต มีแรงบันดาลใจและรู้จักวางแผน

ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา ตอนที่ 4

คุณครูและโรงเรียนยังเป็นส่วนสำคัญของการศึกษาเสมอ แต่จำเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทและวิธีทำงาน คุณครูควรเลิกสอนหรือสอนแต่น้อยแล้วเปลี่ยนบทบาทมาทำหน้าที่ออกแบบโจทย์ปัญหาและกระบวนการเรียนรู้เพื่อเพิ่มพูนทักษะ 3 ประการ

1 2