การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (22)

ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร และสุ่มจังหวัดในแต่ละภูมิภาค โดยกำหนดภูมิภาคละ 2 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร โดยในแต่ละภูมิภาคกำหนดให้เก็บข้อมูลในโรงพยาบาล 5 แห่ง และโรงเรียน 5 แห่ง

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (21)

การศึกษานี้ใช้การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าต่ำสุด-สูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เพื่อพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (20)

แรงจูงใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมือนคนในครอบครัว เชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในเป้าหมายของชีวิตและต้องการถ่ายทอดเรื่องจิตวิญญาณให้ผู้ป่วยได้เข้าใจต่อไป ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือทัศนคติในทางบวกต่อการทำงานที่เป็นผลมาจากการมีจิตวิญญาณในการทำงาน

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (19)

วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถามเกี่ยวกับความตั้งใจ แรงบันดาลใจและความพยายามที่จะสร้างสรรค์ผลงานและทำการสอน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบโดยทั่วไปของศิลปินจะถูกพัฒนาขึ้นบนเงื่อนไขของความตระหนักรู้อันจะนำไปสู่ประโยชน์สูงสุด

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (18)

แบบวัดทางจิตวิทยาเป็นการประเมินพฤติกรรมหรือคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลที่มีลักษณะเป็นปรนัย มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้ และมีความเป็นมาตรฐาน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ Objective test และ Projective test และมีรูปแบบการประเมินหลายรูปแบบ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (17) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

การวัดทางจิตวิญญาณที่ใช้ตัวอย่างพฤติกรรมอันเป็นตัวแทนของพฤติกรรมที่ต้องการวัด กระบวนการวัดที่จัดอยู่ในสภาวการณ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน การให้คะแนนและการตีความของคะแนนในเชิงจิตวิทยา และการสร้างเครื่องมือวัดที่มีความเป็นปรนัย

1 6 7 8 9 10 18