การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (17) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

การวัดทางจิตวิญญาณที่ใช้ตัวอย่างพฤติกรรมอันเป็นตัวแทนของพฤติกรรมที่ต้องการวัด กระบวนการวัดที่จัดอยู่ในสภาวการณ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน การให้คะแนนและการตีความของคะแนนในเชิงจิตวิทยา และการสร้างเครื่องมือวัดที่มีความเป็นปรนัย

การสร้างเครื่องมือประเมืนและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (15)

เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์เดิมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบเดิมที่ใช้ในการทำความเข้าใจชีวิตซึ่งมองชีวิตแบบแยกออกเป็นส่วนๆที่มุ่งเน้นแต่การตรวจวินิจฉัยรักษาโรค การจ่ายยาที่ถูกต้อง โดยขาดการมีปฏิสัมพันธ์และขาดการให้ความสำคัญกับมนุษย์ที่มาตรวจรักษา