การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (17) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

การวัดทางจิตวิญญาณที่ใช้ตัวอย่างพฤติกรรมอันเป็นตัวแทนของพฤติกรรมที่ต้องการวัด กระบวนการวัดที่จัดอยู่ในสภาวการณ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน การให้คะแนนและการตีความของคะแนนในเชิงจิตวิทยา และการสร้างเครื่องมือวัดที่มีความเป็นปรนัย

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (11)

ข้อมูลจะถูกลดความสำคัญลงมาสู่ระดับที่เป็นเพียงสิ่งที่นักวิจัยกำหนดเอาไว้ก่อนเท่านั้น ดังจะเห็นได้ในกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องแม่นตรงของมโนทัศน์และทฤษฏีที่สร้างขึ้น ซึ่งนักวิจัยกำหนดเอาเฉพาะข้อมูลที่เข้าข่ายในการตรวจสอบเท่านั้น การวิจัยเหล่านี้ยึดแนวทางวัตถุวิสัย