การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (26)

มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น พฤติกรรมเชิงจริยธรรม พฤติกรรมการเสียสละ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ผลการปฏิบัติงานที่เหนือความคาดหมาย โดยวัดทั้งระดับสุขภาวะทางจิตวิญญาณและพฤติกรรมเป้าหมาย

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (22)

ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร และสุ่มจังหวัดในแต่ละภูมิภาค โดยกำหนดภูมิภาคละ 2 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร โดยในแต่ละภูมิภาคกำหนดให้เก็บข้อมูลในโรงพยาบาล 5 แห่ง และโรงเรียน 5 แห่ง

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลกรพ้านสาธารณสุข (31)

ประเด็นที่มีความคล้ายคลึงกันได้แก่ การมีจิตรับรู้ความทุกข์ มิตินี้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ “การเข้าถึงเข้าใจผู้อื่น” มิติด้าน การให้คุณค่าของวัตถุได้แต่น้อยกว่าจิตใจ คล้ายคลึงกับ “ เข้าถึงคุณค่าของจิตใจ” มิติด้าน มีความศรัทธาฯ และมิติด้าน transcendent คล้ายคลึงกับ “ ศรัทธาในความจริงที่เหนือธรรมชาติ”

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (9)

ข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการยอมรับชาติพันธุ์ รวมถึงวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ หากเป็นเช่นนั้น ก็นับว่ามีการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของเด็ก ในความหมายของการเคารพวัฒนธรรมที่หล่อหลอมตัวตนของเขา อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ยังแสดงถึงสิ่งที่ดูขัดแย้ง