การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (11)

ข้อมูลจะถูกลดความสำคัญลงมาสู่ระดับที่เป็นเพียงสิ่งที่นักวิจัยกำหนดเอาไว้ก่อนเท่านั้น ดังจะเห็นได้ในกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องแม่นตรงของมโนทัศน์และทฤษฏีที่สร้างขึ้น ซึ่งนักวิจัยกำหนดเอาเฉพาะข้อมูลที่เข้าข่ายในการตรวจสอบเท่านั้น การวิจัยเหล่านี้ยึดแนวทางวัตถุวิสัย

อุ้มบุญ (9) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ในแต่ละระดับอาจสอดคล้องกัน หรือขัดแย้งกันเองก็ได้ โดยเฉพาะในเรื่องเสรีภาพของปัจเจกชน (individual autonomy) ในการทำแท้ง การช่วยให้กำเนิดบุตรด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ กับการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ของกลุ่มชน สังคมและเผ่าพันธุ์มนุษย์

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (10)

ถึงจุดอิ่มตัวแล้ว ซึ่งจะหมายถึงความเข้ากันได้อย่างเหมาะสมกับข้อมูลใหม่ ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะมาจากตัวอย่างชุดไหนก็ตาม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สมมติฐานไม่ได้ถูกท้าทายจากข้อมูลใหม่อีกต่อไป ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นที่จะปรับอีก

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (17)

นอกจากการจัดสถานการณ์ด้วยวิธีให้เด็กได้เผชิญและมีบทบาทในสถานการณ์จริงดังกล่าว ยังมีอีกวิธีหนึ่ง นั่นคือ เป็นการมอบหมายความรับผิดชอบ ทำให้ตระหนักถึงความเป็นผู้กระทำของตนเอง

อุ้มบุญ (8) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ในด้านของความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2540 ได้กล่าวถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไว้ ซึ่งอาจมีความหมายแตกต่างแตกต่างกันออกไปได้

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (9)

สถานการณ์ที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์ต่อการดำเนินการหรือเข้าร่วมในกระบวนการเพื่อตอบสนองต่อปรากฏการณ์ เพื่อที่จะศึกษาว่าบุคคลมีปฏิกิริยาและแสดงปฏิกิริยาสนองต่อปรากฏการณ์อย่างไร ผู้วิจัยจะต้องเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ออกไปเยี่ยมเพื่อเก็บข้อมูลภาคสนามหลายครั้ง

1 28 29 30 31 32 50