การขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (1)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) เป็นหน่วยบริการระดับปฐมภูมิมีภารกิจหลักคือส่งเสริมสุขภาพ มีขอบเขตการดำเนินการคือบริการสาธารณสุขผสมผสานทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู รวมทั้งจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

เรื่องเล่า การขับเคลื่อนให้เกิดการลปรร.ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (4)

มีนโยบายกระทรวงที่เร่งรัดเข้ามา เกี่ยวข้องเรื่องการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน รพ.สต.คือ PCA (Primary care award) ใน รพ.สต.ทุกแห่งต้องพัฒนา ซึ่งปรับมาจากเกณฑ์เดิม คือ HCA (Health Center Accreditation) ทำให้รพ.สต.ยังหลงทิศทางในการรวบรวม

เรื่องเล่า การจัดวงในอำเภอพุนพิน (ต่อ) (3)

กคนก็ให้ความสนใจ ซักถาม รวมทั้งมีการสะท้อนความรู้สึก ร่วมแชร์ประสบการณ์ภายในวง ส่วน fa ก็ทำหน้าที่ได้เป็นอย่างดี ถึงแม้จะเป็น fa ใหม่ก็ตาม แต่ก็มีความตั้งใจสูงและทำการบ้านมาเป็นอย่างดี note taker ก็สามารถจดบันทึกได้ประเด็นหลักๆ ส่วนรายละเอียดย่อย บางช่วงก็มาเติมภายหลัง

เรื่องเล่า การจัดวงในอำเภอพุนพิน (2)

“การดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชน โดย อสม.” “การดูแลสุขภาพกายและใจ เพื่อห่างไกลจากโรคแทรกซ้อน” โดยผู้ป่วยต้นแบบโรคเบาหวาน-ความดัน แรกๆในการตั้งวงก็พบอุปสรรคมากมาย แต่ก็พยายามนำมาปรับปรุงในครั้งต่อไป

เรื่องเล่า การทำให้เกิด ลปรร.ในพื้นที่อำเภอท่าลี่ จ.เลย (1)

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยโน้มน้าวให้เขาเห็นถึงประโยชน์ ผลดีต่อการทำงานและกลุ่มพยาบาลเวชปฏิบัติ หลังจากพูดคุยทั้งกลุ่มก็เห็นด้วย ว่าอยากทำ ก็ปรึกษากันต่อว่าใครจะเป็นคนไปชักชวนพยาบาลเวชปฏิบัติอีก 5 คนที่เหลือ ก็ได้ข้อสรุปว่าใครสามารถพูดโน้มน้าวใครได้ก็ให้ไปพูดกับคนนั้น

เคล็ด(ไม่) ลับการทำวงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ได้ใจและได้งาน (3)

หากสามารถสร้างให้เกิดเป็นวัฒนธรรมขององค์กร ที่จะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการทำงานซึ่งกันและกัน โดยพยายามให้อยู่ในงานประจำที่ทำอยู่ หรืออยู่ในกิจกรรมที่ทำเป็นปกติ เช่น การประชุมประจำเดือน ก็จะทำให้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อยู่ในหน่วยงานได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

1 2 3 4 5