อุ้มบุญ (46) การประชุมรับฟังข้อคิดเห็นเรื่องกฎหมายกับการปฏิสนธิเทียมและการคัดเลือกทางพันธุกรรม ตอนที่ 1

เมื่อเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ ประกอบกับความก้าวหน้าทางการแพทย์สมัยใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านพันธุกรรมมนุษย์ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว พอถึงปัจจุบันเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ไม่เพียงแต่จะช่วยให้สตรีมีบุตรสมดังใจ แต่ยังสามารถช่วยคัดเลือกเพศที่ต้องการ

อุ้มบุญ (45) บรรยายพิเศษเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ตอนที่ 2

พ่อแม่ที่แท้จริงซึ่งเป็นเจ้าของพันธุกรรม มีต้องการจะเป็นพ่อแม่ตามสูติบัตรด้วย ซึ่งยังเป็นไปไม่ได้ตามกฎหมายไทย จึงใช้วิธีเมื่อเด็กคลอดแจ้งชื่อบิดา-มารดาเจ้าของพันธุกรรม แทนชื่อของบิดา-มารดารที่รับตั้งครรภ์แทน ทำให้มีปัญหาในแง่ของการแจ้งความเท็จ ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ

อุ้มบุญ (44) บรรยายพิเศษเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ตอนที่ 1

การใช้เชื้ออสุจิบริจาค ซึ่งก็จะมีปัญหาทางด้านกฎหมายตามมาว่าใครจะมีสิทธิเป็นบิดาของเด็กที่เกิดมาด้วยวิธีนี้ แต่หากเป็นการผสมเทียมที่ใช้เชื้อของสามีแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่เกิดปัญหา

อุ้มบุญ (43) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 12

รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน

โดย น.พ. ปราโมทย์ สุคนิชย์

สิงหาคม 2548


บรรณานุกรม

เผยแพร่ 17 พฤศจิกายน 2557

1. Ciccarelli J, Beckman L. Navigating rough waters: An overview of psychological aspects of surrogacy. J of Social Issues. 2005;61: 21-43.

2. Edelmann RJ. Surrogacy: the psychological issues. J Reprod Infant Psychol 2004;22:123-36.

3. The ESHRE Capri Workshop Group. Social determinants of human reproduction. Hum Reprod 2001;16:1518-26.

4. ประมวล วีรุตมเสน. พระราชบัญญัติการคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์. รายงานจากการประชุมวิชาการประจำปี 2548 ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมอนามัยการเจริญพันธุ์(ไทย)และชมรมเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์แห่งประเทศไทย โรงแรมเอเชีย กรุงเทพ 18-20 พฤษภาคม 2548.

อุ้มบุญ (42) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 11

นอกจากนี้ ลักษณะการศึกษาวิจัยมีจำนวนตัวอย่างประชากรที่ไม่มาก และส่วนมาก ยังเป็นกลุ่มที่ได้รับการคัดเลือกโดยองค์กร หรือ agency มาแล้ว มาเป็นผู้ให้ข้อมูล ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างไปอย่างมาก อาจทำให้มีความโน้มเอียงของข้อมูลที่ได้ไปในทางบว

อุ้มบุญ (41) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 10

รตกลงใดๆระหว่างผู้ร่วมกระบวนการทั้งหมดควรบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แม้จะยังไม่มีกฎหมายบังคับ ( ซึ่งกฎหมายควรเป็นกลางกับทั้ง CC และ SM ) การปฏิบัติ surrogacy หากทำในวงกว้างต่อไป ไม่อาจเชื่อถือกับคำสัญญา ความไว้เนื้อเชื่อใจส่วนตัว ได้อีกต่อไป

1 2 3 4 5 7