อุ้มบุญ (34) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 3

การที่สังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จากสังคมเกษตรกรรมที่ต้องพึ่งแรงงานของลูกหลานอย่างมาก มาเป็นสังคมเมืองและอุตสาหกรรม คนใช้เวลาอยู่ในระบบการศึกษายาวนานเกือบหนึ่งในสามของอายุขัย

อุ้มบุญ (33) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 2

การตั้งครรภ์แทน (surrogacy) การที่คู่สมรสที่มีความตั้งใจจะเป็นบิดามารดา ได้ติดต่อให้หญิงคนหนึ่งตั้งครรภ์ให้ ( อาจใช้เทคโนโลยีช่วยการตั้งครรภ์ชนิดต่างๆอย่างไรก็ได้ ตามความจำเป็น) และสัญญากันว่า หญิงคนนั้นจะยกเด็กให้คู่สมรสเป็นลูกหลังคลอด

อุ้มบุญ (32) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 1

การรับตั้งครรภ์แทนยังถือเป็นสิ่งใหม่สำหรับสังคมมนุษย์ ซับซ้อนกว่าการรับบุตรบุญธรรมเดิม หรือการช่วยให้มีบุตรด้วยเทคโนโลยีทั่วไป แม้ว่า การทบทวนเอกสารที่เสนอ ไม่พบผลลบที่ชัดเจนจากกระบวนการนี้ต่อบุคคลผู้เกี่ยวข้อง แต่การศึกษาไม่พบปัญหา

อุ้มบุญ (31) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์ (ต่อ)

ควรจะให้คำจำกัดความของตัวอ่อน โดยเห็นว่าเมื่ออสุจิผสมกับไข่ ช่วงที่เป็นระยะบลาสโตซิส เป็นระยะที่มีกลุ่มเซลล์นั้นยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นลักษณะที่เป็นอวัยวะ จึงมีความเห็นว่า ในระยะดังกล่าวตัวอ่อนน่าจะเป็นเนื้อเยื่อ (Tissue) ยังไม่ถือว่าเป็นระยะที่มีชีวิต

อุ้มบุญ (30) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์

“เป็นทรัพย์หรือไม่” เพราะหากถือว่าเป็น “ทรัพย์” จะมีปัญหาตามมาหลายเรื่อง ลักษณะในเรื่องการกำหนดให้เป็น “ส่วนของร่างกาย” นี้ในกฎหมายมีความพยายามกำหนดให้ดูเหมือนว่าไม่เป็นหรือไม่เรียกว่า “ทรัพย์” โดยทั่วๆ ไป โดยกำหนดให้มีลักษณะพิเศษ

อุ้มบุญ (29) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

องค์กรที่รับผิดชอบ ควรร่วมกันหลายหน่วยงาน แพทยสภาเองมักจะเป็นผู้ถูกกำหนดให้เป็นผู้ชี้ถูกผิด สำนักงานอัยการสูงสุด ซึ่งมักจะเป็นผู้ถูกให้ออกกฎหมาย แต่จะต้องมีอีกฝ่ายหนึ่งคือตัวแทนประชาชนหรือผู้ที่ได้รับการคัดสรรเพื่อที่จะออกความคิดเห็น

1 3 4 5 6 7