อุ้มบุญ (28) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ในประการต่อไปเป็นเรื่องขององค์กรว่า องค์กรที่จะต้องเข้ามาควบคุมกำกับดูแลในเรื่องนี้นั้นต้องมีเฉพาะหรือไม่ หรือจะปล่อยให้มีการกำหนดกฎหมายในลักษณะเป็นคำแนะนำหรือข้อควรปฏิบัติ (guideline) แล้วปล่อยให้ทางวิทยาศาสตร์หรือทางการแพทย์นั้นดูเป็นระยะๆ

อุ้มบุญ (26) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

จากข้อจำกัดของกฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีความพยายามจากหลายฝ่ายที่จะจัดทำร่างกฎหมายเพื่อใช้ควบคุมกำกับการดำเนินงานด้านอนามัยเจริญพันธุ์ แต่ความก้าวหน้าของกระบวนการและการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่งผลกระทบกว้างขวางยิ่งไปกว่าความพยายามที่กำลังดำเนินการอยู่

อุ้มบุญ (25) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

ตรวจวินิจฉัยป้องกันทารกไม่ให้เกิดมาพร้อมกับโรคทางพันธุกรรม ในทางปฏิบัติแพทย์จะเลือกนำตัวอ่อนเฉพาะที่ตรวจไม่พบโรคทางพันธุกรรมนั้นๆ ใส่กลับเข้าไปในร่างกาย และด้วยวิธีดังกล่าวยังสามารถใช้ในการตรวจคัดเลือกเพศของตัวอ่อนได้ไปพร้อมกัน

อุ้มบุญ (24) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

สถานะทางกฏหมายของเซลล์สืบพันธุ์ ตัวอ่อน มีความสำคัญต่อการพิจารณาระดับความคุ้มครองทางกฎหมาย เมื่อมีข้อพิพาท รวมถึงกรณีของผู้ใช้สิทธิดำเนินการต่อสิ่งเหล่านี้ และสิทธิของตัวอ่อนและเด็กที่อาจเกิดขึ้น

อุ้มบุญ (23) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะนำเทคโนโลยีโคลนนิ่งมาช่วยในการรักษา (Therapeutic Cloning) แพทย์จะนำนิวเคลียสเซลล์จากผู้ป่วยเพื่อนำมาเป็นต้นแบบสำเนา เพื่อให้เซลล์ต้นตอที่เกิดขึ้นมีพันธุกรรมเดียวกันกับผู้รับ ลดปัญหาการต่อต้านจากร่างกาย

อุ้มบุญ (22) ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ที่เรายังไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ไม่เกิดความกลัวถึงผลกระทบหรือผลร้ายที่เกิดขึ้น ข้อที่ควรตระหนักก็คือ การก้าวไปข้างหน้าด้วยความไม่รู้ เลยทำให้ไม่กลัว เป็นการก้าวไปที่อันตรายอย่างยิ่ง

1 4 5 6 7