การขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5)
ทุก รพ.สต. ต้องทำข้อมูล J-HCIS เป็นการลงข้อมูล 18 แฟ้ม เพื่อที่ สปสช.จะตรวจข้อมูลเพื่อให้คะแนนและงบประมาณ ในอำเภอมี 3 ตำบลที่ลงข้อมูลผิดพลาด แล้วจังหวัดก็เรียกไป เช่น วินิจฉัยโรคไม่ตรงกับอาการที่มา
ทุก รพ.สต. ต้องทำข้อมูล J-HCIS เป็นการลงข้อมูล 18 แฟ้ม เพื่อที่ สปสช.จะตรวจข้อมูลเพื่อให้คะแนนและงบประมาณ ในอำเภอมี 3 ตำบลที่ลงข้อมูลผิดพลาด แล้วจังหวัดก็เรียกไป เช่น วินิจฉัยโรคไม่ตรงกับอาการที่มา
จากกิจกรรมนี้ก็ทำให้ตัวครูรู้ว่า แค่ประเด็นเดียวเด็กก็กล้าที่จะพูด กล้าสื่อสารเขาทำอะไรได้บ้าง ถึงแม้เขาจะวาดรูปไม่สวย ครูก็บอกว่าครูก็วาดรูปไม่สวย หนูวาดสวยกว่าครูอีก มีขาด้วยถ้าหนูใส่เสื้อผ้าให้รูปภาพของหนู เขาจะน่ารักกว่านี้
พ่อแม่ที่แท้จริงซึ่งเป็นเจ้าของพันธุกรรม มีต้องการจะเป็นพ่อแม่ตามสูติบัตรด้วย ซึ่งยังเป็นไปไม่ได้ตามกฎหมายไทย จึงใช้วิธีเมื่อเด็กคลอดแจ้งชื่อบิดา-มารดาเจ้าของพันธุกรรม แทนชื่อของบิดา-มารดารที่รับตั้งครรภ์แทน ทำให้มีปัญหาในแง่ของการแจ้งความเท็จ ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ
หลังจากอบรมกลับไปก็ไฟแรง เอาก็คุยกับเจ้าหน้าที่เราก่อนว่าไปแล้วเราได้อะไรบ้าง น้องก็อยากมาแลกเปลี่ยนว่า อยากมาคุยกันบ้าง เราก็ทำเลย เพราะเดิมเรามีการนั่งคุยกันอยู่แล้ว แต่เราปรับให้เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ทุกคนได้พูดเรื่องที่ตัวเองทำกับคนไข้แล้วคนไข้ประทับใจ
เด็กได้ทักษะ โดยที่เราก็ไม่ต้องไปเน้นย้ำ คำถามที่ดีต้องเป็นอย่างนี้นะ ผลพลอยได้ เด็ก ป.๒ จะได้ภาษาไทยที่ยากขึ้น เช่น เทคนิคการตั้งคำถาม ประโยคคำถามไม่รู้ตัวเลย คำถามปลายเปิดด้วยนะ ทำไม อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้หายอีก ถ้าไม่หายแล้วจะเกิดประโยชน์แก่ตัวเอง แก่ผู้อื่นอย่างไร
การใช้เชื้ออสุจิบริจาค ซึ่งก็จะมีปัญหาทางด้านกฎหมายตามมาว่าใครจะมีสิทธิเป็นบิดาของเด็กที่เกิดมาด้วยวิธีนี้ แต่หากเป็นการผสมเทียมที่ใช้เชื้อของสามีแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่เกิดปัญหา