โครงสร้างและระบบการบริหารจัดการ

วิสัยทัศน์ที่ดี จะถูกสื่อสารอย่างจริงจัง สื่อบ่อยๆ สื่อซ้ำๆ จนกว่าคุณครูทุกท่านจะเข้าใจ เราตั้งโรงเรียนเพื่ออะไร เราจะทำอะไรกับโรงเรียน ชวนคุณครูทุกท่านร่วมเรียนรู้ ร่วมเปลี่ยนแปลงตัวเอง พร้อมก้าวเดินไปข้างหน้าด้วยกัน อย่างเช่น โรงเรียนสร้างสุข

วิธีพัฒนาคนด้วยการสอบปรนัย ต่างจากพัฒนาคนด้วย refletion

เริ่มให้ครูแต่ละคนเล่า แต่ก่อนเริ่ม เราจะบอกเขาว่า ขอความร่วมมือ ไม่มีการบอกนะว่าของเขาดีไม่ดี ไม่ใส่ความคิดเห็นนะว่า ฉันทำดีกว่าอย่างนี้ แล้วก็จะบอกครูว่า เดี๋ยวเราเล่าจบแล้วเราค่อยถามกัน ขอให้คุณครูทุกท่านปิดมือถือ ซึ่งมันดึงดูดความสนใจเวลาฟังค่ะ ก็จะเริ่มให้ครูแต่ละคนเล่า

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (27)

การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

รศ.ดร.รัตติกรณ์  จงวิศาล  และคณะ

เผยแพร่ 15 ตุลาคม 2557

 

เอกสารอ้างอิง

Borden, M. E. (2009). Applying an Integral Perspective to Business Strategy: A Case Study Nandram, S. S. and Borden, M. E. (eds.). Germany: Springer – Verlag Berlin Heidelberg.

Bradley, J and Kauanui, S.K. (2003). Comparing Spirituality on Three Southern California College Campuses. Journal of Organizational Change Management. 16 (4): 448-462.

Bruce. W. M. (2000). Public Administrator attitudes about spirituality: An exploratory study. American Review of Public Administration, 30(4), 460-472. In Marques, J., Dhiman, S. and King, R. (2007). Spirituality in the Workplace: What It Is, Why It Matters, How to Make It Work for You. Personhood Press.

Bygrave, C. and Macmillan, S. (2008). Spirituality in the workplace: A wake up call from the American dream. Journal of Workplace Rights. Vol. 13(1) 93-112.

Campbell, L.H. (2003). The Spiritual Lives of Artist/Teacher. Urbana-Champaign: University of Illinois.

Cavanagh, G. (1999). Spirituality for managers: Context and critique. Journal of Organizational Change Management. 12(3), 186. In Marques, J., Dhiman, S. and King, R. (2007). Spirituality in the Workplace: What It Is, Why It Matters, How to Make It Work for You. Personhood Press.

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (26)

มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น พฤติกรรมเชิงจริยธรรม พฤติกรรมการเสียสละ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ผลการปฏิบัติงานที่เหนือความคาดหมาย โดยวัดทั้งระดับสุขภาวะทางจิตวิญญาณและพฤติกรรมเป้าหมาย

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (25)

กราฟที่แสดงคะแนนแต่ละด้าน ทั้งกราฟที่แสดงเป็นค่ามาตรฐานที เพื่อให้ผู้ประเมินเห็นภาพชัดเจนว่าสุขภาวะทางจิตวิญญาณของตนนั้นด้านใดที่น้อยด้านใดที่มาก และกราฟที่แสดงคะแนนดิบที่รวมจากคะแนนแต่ละข้อและช่วงคะแนนปกติ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (24)

มีความคิดและการกระทำอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง แม้ว่าจะแตกต่างจากผู้อื่น และกล้าที่จะยืนหยัดในสิ่งที่เห็นว่าถูกต้อง กล้าที่จะยืนหยัดเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนและพรรคพวก กล้าที่จะตัดสินใจตามอุดมการณ์

1 2 3 13