การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (23)

3.1 เนื่องจากตัวแปรสุขภาวะทางจิตวิญญาณค่อนข้างเป็นอัตวิสัย ลึกซื้ง เครื่องมือประเมินจำเป็นจะต้องสามารถวัดให้ได้คลอบคลุมลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น เพื่อสะท้อนสุขภาวะทางจิตวิญญาณให้ถูกต้องมากที่สุด

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (22)

ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และกรุงเทพมหานคร และสุ่มจังหวัดในแต่ละภูมิภาค โดยกำหนดภูมิภาคละ 2 จังหวัด ยกเว้นกรุงเทพมหานคร โดยในแต่ละภูมิภาคกำหนดให้เก็บข้อมูลในโรงพยาบาล 5 แห่ง และโรงเรียน 5 แห่ง

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข(34)

ประวัติผู้รับผิดชอบโครงการ และคณะ รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี โยเหลา ตำแหน่งปัจจุบัน รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (21)

การศึกษานี้ใช้การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าต่ำสุด-สูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เพื่อพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (33)

ประสบการณ์การที่ทำให้บุคคลตั้งคำถามแก่การเป็น การอยู่ของตนเอง ทำให้เข้าใจความหมายของชีวิต เป็นประสบการณ์ที่ทำให้บุคคลตระหนักรู้และตอบคำถามได้ว่า เราเกิดมาทำไม เพื่ออะไร การตั้งคำถามเกี่ยวกับชีวิตนี้เกิดขึ้นตั้งแต่วัยเด็ก ในวัยเด็กมักมีคำถามว่า เขาเกิดมาจากไหน สวรรค์อยู่ที่ไหน นรกมีจริงไหม

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (20)

แรงจูงใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมือนคนในครอบครัว เชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในเป้าหมายของชีวิตและต้องการถ่ายทอดเรื่องจิตวิญญาณให้ผู้ป่วยได้เข้าใจต่อไป ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือทัศนคติในทางบวกต่อการทำงานที่เป็นผลมาจากการมีจิตวิญญาณในการทำงาน

1 2 3 4 13