การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (29)

จากความสุขทั้ง 2 ดังกล่าวแล้วจะเห็นว่าความสุขของผู้มีจิตวิญญาณมีความแตกต่างไปจากนิยามของความสุขโดยทั้งไป ที่กล่าวถึงความสุขในแง่ของความพึงพอใจต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ และอารมณ์ทางบวกของบุคคล

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (16) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

ดังนั้น แนวทางการวัดทางจิตวิทยาจึงทำได้หลายแนวทางด้วยกัน ได้แก่ การวัดตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นตัวแทนของพฤติกรรมที่ต้องการวัด กระบวนการวัดที่จัดอยู่ในสภาวการณ์ที่มีความเป็นมาตรฐาน รวมถึงการให้คะแนนและการตีความของคะแนน มีความเป็นปรนัย

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (28)

การแสดงพฤติกรรมนี้เป็นการแสดงออกกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นชาวบ้าน คนไข้ เพื่อนร่วมงาน การแสดงพฤติกรรมนี้อาจมีสาเหตุมาจากแก่นของจิตวิญญาณด้าน “เข้าถึงเข้าใจผู้อื่น”การรับฟังผู้อื่นอย่างตั้งใจมากขึ้น และเข้าใจสิ่งที่เป็นความต้องการของเขา

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (15) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

จากการทบทวนเอกสารพบว่า การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถทำได้ โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการ ทั้งปัจจัยที่เป็นการพัฒนาในระดับบุคคล โดยการทบทวนตนเอง การฝึกควบคุมอารมณ์ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (27)

การกระทำ ที่อธิบายได้ว่าผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทำงานโดยเห็นคุณค่าที่อยู่ในตัวของงาน ซึ่งตรงกันข้ามกับ การเห็นคุณค่าภายนอก ซึ่งหมายถึง คุณค่าของตัวงานขึ้นอยู่กับการที่ทำงานนั้นแล้วจะนำพาสิ่งอื่น ๆ มาให้ตัวเรา

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (14) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

กำลังใจ บางครั้งการปฏิบัติงานท่ามกลางภาวะวิกฤติจะก่อให้เกิดความท้อแท้ในการทำงาน บรรยากาศการทำงานแย่ลง และส่งผลบั่นทอนจิตใจผู้ปฏิบัติงาน การได้รับเสียงสะท้อนที่ดี ก็จะเป็นเหมือนน้ำหล่อเลี้ยงจิตใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดพลังใจในการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อการพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น

1 2 3 4 5 6 13