อุ้มบุญ (16) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

การนำตัวอ่อนที่ปฏิสนธิแล้วไปทำการทดลอง ซึ่งมีข้อถกเถียงเรื่องความเหมาะสมเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีข้อขัดแย้งระหว่างแนวคิด 2 ขั้ว กล่าวคือ ในด้านหนึ่ง การทดลองเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ในตัวเองเพราะสามารถใช้ให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านการแพทย์

อุ้มบุญ (15) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

สำหรับประเทศที่ห้ามการซื้อขายอวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายโดยถือเป็นอาชญากรรม การห้ามจะครอบคลุมเรื่องการซื้อขายเชื้ออสุจิ ไข่ ตลอดจนตัวอ่อนด้วยหรือไม่ คำตอบขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์นิยามของคำว่าอวัยวะมนุษย์ซึ่งอาจมีความชัดเจนมากน้อยแตกต่างกันไปตามแต่ละกรณีศึกษา

อุ้มบุญ (14) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

กฎหมายให้มีฐานะบุคคลเมื่อทารกคลอดและอยู่รอด ดังนั้นทารกในครรภ์มารดาจึงยังไม่มีสถานะของบุคคล แต่มีสภาพเป็นชีวิตในครรภ์มารดา ซึ่งกฎหมายคุ้มครองในระดับหนึ่ง โดยมาตรา15 วรรคสองรับรองสิทธิของทารกในครรภ์ในเงื่อนไขว่าคลอดมาและอยู่รอดได้

อุ้มบุญ (13) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

เมื่อมีการปฏิสนธิระหว่างไข่กับอสุจิ อันเป็นกระบวนการของธรรมชาติ แต่เมื่อเกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สกัดกั้นมิให้เกิดการตั้งครรภ์ แม้ไข่และอสุจิจะผสมกันแล้ว ดังเช่นกรณีของการคุมกำเนิดแบบใส่ห่วง ที่ทำให้การฝังตัวในโพรงมดลูก

อุ้มบุญ (12) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข

เมื่อพิจารณากรณีตัวอย่างของประเทศที่อนุญาตให้ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ก็จะพบว่ามีคดีความที่ซับซ้อนเกิดขึ้นและนำไปสู่การศึกษาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้ครอบคลุมและรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการปฏิสนธิเทียม

อุ้มบุญ (11) ปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับขอบเขตของการอนุญาตให้ใช้เทคนิคเจริญพันธุ์

ในการแก้ไขปัญหาผู้ที่ไม่อาจมีบุตรได้ก็มีเพียงสถาบันการรับรองบุตรบุญธรรมเท่านั้น ซึ่งต้องอาศัยองค์กรฝ่ายบ้านเมืองเป็นผู้ใช้ดุลพินิจในการสนองความปรารถนาของคู่สมรสผู้ต้องการรับบุตรบุญธรรมไว้อุปการะ

1 6 7 8 9 10 15