อุ้มบุญ (43) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 12

รายงานฉบับสมบูรณ์

โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน

โดย น.พ. ปราโมทย์ สุคนิชย์

สิงหาคม 2548


บรรณานุกรม

เผยแพร่ 17 พฤศจิกายน 2557

1. Ciccarelli J, Beckman L. Navigating rough waters: An overview of psychological aspects of surrogacy. J of Social Issues. 2005;61: 21-43.

2. Edelmann RJ. Surrogacy: the psychological issues. J Reprod Infant Psychol 2004;22:123-36.

3. The ESHRE Capri Workshop Group. Social determinants of human reproduction. Hum Reprod 2001;16:1518-26.

4. ประมวล วีรุตมเสน. พระราชบัญญัติการคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์. รายงานจากการประชุมวิชาการประจำปี 2548 ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมอนามัยการเจริญพันธุ์(ไทย)และชมรมเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์แห่งประเทศไทย โรงแรมเอเชีย กรุงเทพ 18-20 พฤษภาคม 2548.

การขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (2)

ตัวแปรความสำเร็จในการยกระดับข้างต้น คือ การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน รพ.สต. ในการดูแลสุขภาพประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีหลายวิธีการ ในปี 2553

ปฎิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (1) จุดเริ่มต้น

หนีไม่พ้น อยากให้มีงานดีๆ ทำ มีเงินใช้ แข็งแรงไม่ป่วยไม่ไข้ ไม่มีศัตรู มีเพื่อนดี ปลอดภัย มีพระคุ้มครอง เอาตัวรอดได้ หรือถามคุณครูว่า เราอยากเห็นลูกศิษย์เติบโตไปเป็นคนแบบไหน คำตอบจะวนเวียนอยู่ที่ อยากให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นเด็กดี มีกระบวนการคิดดี คิดวิเคราะห์เป็น มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นตัวของตัวเอง

อุ้มบุญ (42) โครงการการทบทวนเอกสารเรื่องสุขภาพจิต/จิตวิทยาของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ กรณีตั้งครรภ์แทน ตอนที่ 11

นอกจากนี้ ลักษณะการศึกษาวิจัยมีจำนวนตัวอย่างประชากรที่ไม่มาก และส่วนมาก ยังเป็นกลุ่มที่ได้รับการคัดเลือกโดยองค์กร หรือ agency มาแล้ว มาเป็นผู้ให้ข้อมูล ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างไปอย่างมาก อาจทำให้มีความโน้มเอียงของข้อมูลที่ได้ไปในทางบว

“ไทยพับลิกาสัมภาษณ์มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์เรื่องการศึกษาไทย” http://thaipublica.org/2014/10/prasert-thaissf-education-reform/ ตอนที่ 4

สนทนาเรื่องนักเรียนทุกวัน หลักสูตรต้องการให้นักเรียนเรียนรู้อะไร เราจะออกแบบการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างไร ที่ออกแบบและทดลองทำไปแล้ว นักเรียนได้รู้สิ่งที่ต้องจริงหรือเปล่า และนักเรียนได้เพิ่มพูนความสามารถในการเรียนรู้และการใช้ชีวิตจริงหรือไม่

การขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (1)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) เป็นหน่วยบริการระดับปฐมภูมิมีภารกิจหลักคือส่งเสริมสุขภาพ มีขอบเขตการดำเนินการคือบริการสาธารณสุขผสมผสานทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู รวมทั้งจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

1 7 8 9 10 11 50