การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (4)

ความผูกพันด้านปฏิสัมพันธ์ (Interactional Commitment) หมายถึง ปริมาณของความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ในเครือข่ายทางสังคมซึ่งทำให้ได้แสดงบทบาทหรือมีเอกลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (3)

ก่อรูปขึ้นในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งและถูกจัดลำดับความสำคัญที่ลดหลั่นอันทำให้เกิดตัวตน (Self) (Burke; & Reitzes. 1981: 84; citing stryker. 1968) เอกลักษณ์จะเกิดขึ้นบนพื้นฐานความคล้ายคลึงและความแตกต่างของบทบาทเมื่อเปรียบเทียบกับบทบาทอื่น ๆ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (2)

เกิดปัญญา การหยั่งรู้ เข้าใจความจริงของชีวิต ค้นพบเป้าหมายความหมายของชีวิต มีดุลภาพในความสัมพันธ์ภายในตนเอง ความสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งแวดล้อม และพลังเหนือธรรมชาติ สงบ มีความสุข มีความเข้าใจในตนเอง เข้าใจในธรรมชาติและความเป็นจริงในชีวิต

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (1)

ได้เริ่มมีการนำคำนี้เข้ามาใช้ในประเทศไทยและมีการระบุไว้ในร่างกฎหมาย พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ โดยเฉพาะในวงการแพทย์พยาบาลมีความตื่นตัวในเรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic care) เป็นอย่างมาก

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (20)

ได้ด้วยการผันแปรทางจินตนาการ การผันแปรนั้นอาจใช้วิธีการต่างกัน เช่น คิดเชิงบวก เอาใจเขามาใส่ใจเรา ทั้งนี้ การผันแปรทางจินตนาการต้องอาศัยความคิดเกี่ยวกับคุณค่า หรือ “ทิศทาง”กำกับ

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (19)

ความพยายามในการใช้วิธีการฝึกสมาธิเพื่อควบคุมความรู้สึกอันสำแดงตนบนพื้นฐานของความมีความหมายดั้งเดิมที่ต้องการละทิ้ง หรือใช้วิธีคิดเชิงบวกเพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่คุณค่าที่ตนเห็นว่าดี

1 8 9 10 11 12 13