สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (20)

ได้ด้วยการผันแปรทางจินตนาการ การผันแปรนั้นอาจใช้วิธีการต่างกัน เช่น คิดเชิงบวก เอาใจเขามาใส่ใจเรา ทั้งนี้ การผันแปรทางจินตนาการต้องอาศัยความคิดเกี่ยวกับคุณค่า หรือ “ทิศทาง”กำกับ

# มีปัจจัยต่างๆ สนับสนุนทั้งในส่วนของการผันแปรทางจินตนาการและทิศทาง เช่น ตัวแบบที่ดี สัมพันธภาพที่ดี ระบบขององค์กร

การวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ามีการกล่าวถึงเพียง “สมรรถนะทางจิตวิญญาณแบบเหนือธรรมชาติ” เท่านั้น แต่ไม่พบว่ามีการกล่าวถึง “ภาวะจิตวิญญาณแบบเหนือธรรมชาติ” ดังนั้น ในส่วนของ “จิตวิญญาณแบบเหนือธรรมชาติ” จึงสังเคราะห์ได้แต่ “สมรรถนะทางจิตวิญญาณแบบเหนือธรรมชาติ” เท่านั้น อย่างไรก็ตาม สำหรับ “จิตวิญญาณแบบอัตถิภาวะ” การวิเคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นถึงส่วนที่เป็น “สมรรถนะ” และ “ภาวะ” ข้อนี้ทำให้กล่าวถึง “สุขภาวะทางจิตวิญญาณแบบอัตถิภาวะ” ได้ (ในความหมายของภาวะที่ดีทางจิตวิญญาณแบบอัตถิภาวะ)

จะเห็นได้จากกรอบแนวคิดได้ว่าหากบุคคลสามารถก้าวพ้นตัวตนและพบความมีความหมายใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและมีทิศทางที่เหมาะสม ย่อมกล่าวได้ว่าบุคคลผู้นั้นมี “สุขภาวะทางจิตวิญญาณแบบอัตถิภาวะ” ในทางตรงข้าม หากผู้ใดไม่สามารถก้าวพ้นตัวตนได้ บุคคลผู้นั้นย่อมมี “ทุกขภาวะทางจิตวิญญาณแบบอัตถิภาวะ” (ดังมีตัวอย่างแสดงชัดในหัวข้อ 4.4)

6. เอกสารอ่านประกอบการสังเคราะห์

ประเวศ วะสี. (๒๕๕๑). สุขภาวะทางปัญญา. มติชนรายวัน, ๑๔ มิถุนายน.

ภิรมย์ กมลรัตนกุล และวิโรจน์ เจียมจรัสรังสี. (๒๕๔๙). แนวคิดใหม่เกี่ยวกับ “สุขภาวะ” และ “การสร้างเสริมสุขภาพ”. จุฬาลงกรณ์เวชสาร ๕๐(๕), น. ๒๙๑ – ๓๐๐.

Berry, D. (2005). Methodological Pitfalls in the Study of Religiosity and Spirituality. Western Journal of Nursing Research 27(5): 628-647.

Faull, K. and Hills, M.D. (2006). The Role of the Spiritual Dimension of the Self as the Prime Determinant of Health. Disability and Rehabilitation 28(11): 729-740.

Gall, T. L. and Grant K. (2005). Spiritual Disposition and Understanding Illness. Pastoral Psychology 53(6): 515-533.

Harris, A. H. S. et. al (1999). Spirituality and Religiously Oriented Health Interventions. Journal of Health Psychology 4(3): 413-433.

Heintzman, P. (2002). A Conceptual Model of Leisure and Spiritual Well-Being. Journal of Park and Recreation Administration 20(4): 147-169.

Howard, N. C., et al. (2000). Spiritual Directors and Clinical Psyshologists: A Comparision of Mental Health and Spiritual Values. Journal of Psychology and Theology 28(4): 308-320.

Kaut, K. P. (2002). Religion, Spirituality, and Existentialism Near the End of Life: Implications for Assessment and Application. American Behavioral Scientist 46(2): 220-234.

Komatra Chuengsatiansup. (2003). Spirituality and health: an initial proposal to incorporate spiritual health in health impact assessment. Environmental Impact Assessment Review 23: 3 – 15.

Moss, D. (2002). The Circle of the Soul: The Role of Spirituality in Health Care. Applied Psychophysiology and Biofeedback 27(4): 283-297.

Nolan, P. and Crawford, P. (1997). Towards a Rhetoric of Spirituality in Mental Health Care. Journal of Advanced Nursing 26: 289-294.

Pandey, A. and Gupta, R. K. (2008). Spirituality in Management: A Review of Contemporary and Traditional Thoughts and Agenda for Research. Global Business Review 9(1): 65-83.

Pesut, B. and Thorne, S. (2007). From Private to Public: Negotiating Professional and Personal Identities in Spiritual Care. Journal of Advanced Nursing 58(4): 396-403.

Smith, J. and McSherry, W. (2004). Spirituality and Child Development: A Concept Analysis. Journal of Advanced Nursing 45(3): 307-315.

Weaver, A. J. et. al. (1998). An Analysis of Research on Religious and Spiritual Variables in Three Major Mental Health Nursing Journals, 1991-1995. Issues in Mental Health Nursing 19: 263-276.

———. (2006). Trends in the Scientific Study of Religion, Spirituality and Health: 1965-2000. Journal of Religion and Health 45(2): 208-214.