สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (18)

ปัจเจกภาพอันเป็นสิ่งที่บุคคลเป็นอยู่ อันเป็นขอบเขตที่กำหนดโดยความหมายที่รู้สึกนั้น อาจขยายออกได้เมื่อบุคคลรู้สึกหรือพยายามรู้สึก “ความคิด” ที่เขามิได้รู้สึกในขณะนี้ เมื่อสิ่งนี้เกิดขึ้น ก็กล่าวได้ว่า “โลก” ของบุคคลเปลี่ยนไป การรู้สึกความหมายที่ไม่เคยรู้สึก

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (5)

จัดกิจกรรมทันตสุขภาพด้วยการใช้วิทยาศาสตร์และไสยศาสตร์ค่ะ เขาก็หัวเราะกันเฮเลย เอ๊ะ แปรงฟันไปเกี่ยวอะไรกับไสยศาสตร์ คือเราพยายามที่จะแก้ปัญหาเกี่ยวกับขนมกรุบกรอบ กับน้ำอัดลม ในโรงเรียนนี้แก้ได้ ทุกโรงเรียนแก้ได้ เชื่อเลยค่ะแก้ได้

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (17)

ในเรื่องของการประสานงานที่เหมาะเจาะของความคิดและความรู้สึก ข้อนี้ทำให้ตั้งข้อสงสัยว่าเราจะอยู่ในภาวะทางจิตวิญญาณอยู่เสมอได้อย่างไร นอกจากนี้ ถ้าภาวะร่างกายเป็นไปตามปกติ เราก็จะประเมินว่ามีสุขภาวะทางกาย (ในความหมายที่ว่ามีภาวะทางกายที่มีสุข) แต่ถ้าภาวะทางจิตวิญญาณเป็นอย่างที่เป็น

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (16)

สนับสนุนสุขภาวะทางจิตวิญญาณในฐานะความตระหนักในความมีความหมาย ภาวะทางสังคมน่าจะมีลักษณะร่วมกับภาวะทางจิตวิญญาณตรงที่ดูจะเกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างความคิดและความรู้สึก ในกรณีของจิตวิญญาณนั้น

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (15)

แล้วครอบครัวเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมาก ก็คือจะมาเสริมแรงบวกเราตลอดเวลา อย่างเวลาคนไข้เขาชมหรือเขามีท่าทีที่มีความสุข เราก็รู้สึกอิ่มเอิบ ส่วนทีมงานนี่ก็มีผลมาก ทำให้เราทำงานได้เต็มกำลังความสามารถมากขึ้น สุดท้ายคือครอบครัว

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (2)

“กระบวนทัศน์” (paradigm) ที่ชี้ว่าการรับรู้โลกย่อมผ่านกรอบบางอย่างเสมอ นอกจากนี้ ยังเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าการสังเคราะห์ต้องอาศัยแนวคิดต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากตะวันตก แม้แนวคิดเรื่อง “จิตวิญญาณ” เอง ในที่สุดแล้ว ก็ต้องอาศัยนิยามของตะวันตก

1 9 10 11 12 13