การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (32)

จากแนวคิดของการเรียนรู้สังคมของบุคคล ในส่วนของทฤษฎี Social cognitive theory นั้นกล่าวว่าบุคคลเรียนรู้จากสิ่งที่เห็น แต่เขาเลือกที่จะเรียนรู้บางสิ่งเท่านั้น โดยเงื่อนไขหรือองค์ประกอบที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) บุคคลผู้นั้นต้องมีคุณลักษณะที่เพียงพอ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลกรพ้านสาธารณสุข (31)

ประเด็นที่มีความคล้ายคลึงกันได้แก่ การมีจิตรับรู้ความทุกข์ มิตินี้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ “การเข้าถึงเข้าใจผู้อื่น” มิติด้าน การให้คุณค่าของวัตถุได้แต่น้อยกว่าจิตใจ คล้ายคลึงกับ “ เข้าถึงคุณค่าของจิตใจ” มิติด้าน มีความศรัทธาฯ และมิติด้าน transcendent คล้ายคลึงกับ “ ศรัทธาในความจริงที่เหนือธรรมชาติ”

การสร้างเครื่องประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรพด้านสาธารณสุข (30)

มีเตียงสูง มีญาตินั่งเรียงกันอยู่ ข้างล่าง มีเสียงสวดมนต์ตลอดเวลา ไม่ใช่จากเทปนะคะ เสียงสวดมนต์ตลอดเวลา แล้วคนไข้ก็สวดมนต์ด้วยก่อนที่จะไปอย่างเนี๊ยะค่ะ มันเป็นอะไรที่แบบว่าทำให้เราโอโหดีมาก แล้วหลังจากนั้นพอเค้าเสียชีวิตไป เค้าก็เชิญไปงานศพ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (29)

จากความสุขทั้ง 2 ดังกล่าวแล้วจะเห็นว่าความสุขของผู้มีจิตวิญญาณมีความแตกต่างไปจากนิยามของความสุขโดยทั้งไป ที่กล่าวถึงความสุขในแง่ของความพึงพอใจต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ และอารมณ์ทางบวกของบุคคล

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (28)

การแสดงพฤติกรรมนี้เป็นการแสดงออกกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นชาวบ้าน คนไข้ เพื่อนร่วมงาน การแสดงพฤติกรรมนี้อาจมีสาเหตุมาจากแก่นของจิตวิญญาณด้าน “เข้าถึงเข้าใจผู้อื่น”การรับฟังผู้อื่นอย่างตั้งใจมากขึ้น และเข้าใจสิ่งที่เป็นความต้องการของเขา

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (27)

การกระทำ ที่อธิบายได้ว่าผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทำงานโดยเห็นคุณค่าที่อยู่ในตัวของงาน ซึ่งตรงกันข้ามกับ การเห็นคุณค่าภายนอก ซึ่งหมายถึง คุณค่าของตัวงานขึ้นอยู่กับการที่ทำงานนั้นแล้วจะนำพาสิ่งอื่น ๆ มาให้ตัวเรา

1 7 8 9 10 11 19