การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (2)

เกิดปัญญา การหยั่งรู้ เข้าใจความจริงของชีวิต ค้นพบเป้าหมายความหมายของชีวิต มีดุลภาพในความสัมพันธ์ภายในตนเอง ความสัมพันธ์กับบุคคล สิ่งแวดล้อม และพลังเหนือธรรมชาติ สงบ มีความสุข มีความเข้าใจในตนเอง เข้าใจในธรรมชาติและความเป็นจริงในชีวิต

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (1)

ได้เริ่มมีการนำคำนี้เข้ามาใช้ในประเทศไทยและมีการระบุไว้ในร่างกฎหมาย พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ โดยเฉพาะในวงการแพทย์พยาบาลมีความตื่นตัวในเรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Holistic care) เป็นอย่างมาก

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (20)

ได้ด้วยการผันแปรทางจินตนาการ การผันแปรนั้นอาจใช้วิธีการต่างกัน เช่น คิดเชิงบวก เอาใจเขามาใส่ใจเรา ทั้งนี้ การผันแปรทางจินตนาการต้องอาศัยความคิดเกี่ยวกับคุณค่า หรือ “ทิศทาง”กำกับ

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (19)

ความพยายามในการใช้วิธีการฝึกสมาธิเพื่อควบคุมความรู้สึกอันสำแดงตนบนพื้นฐานของความมีความหมายดั้งเดิมที่ต้องการละทิ้ง หรือใช้วิธีคิดเชิงบวกเพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีให้แก่คุณค่าที่ตนเห็นว่าดี

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (18)

ปัจเจกภาพอันเป็นสิ่งที่บุคคลเป็นอยู่ อันเป็นขอบเขตที่กำหนดโดยความหมายที่รู้สึกนั้น อาจขยายออกได้เมื่อบุคคลรู้สึกหรือพยายามรู้สึก “ความคิด” ที่เขามิได้รู้สึกในขณะนี้ เมื่อสิ่งนี้เกิดขึ้น ก็กล่าวได้ว่า “โลก” ของบุคคลเปลี่ยนไป การรู้สึกความหมายที่ไม่เคยรู้สึก

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (17)

ในเรื่องของการประสานงานที่เหมาะเจาะของความคิดและความรู้สึก ข้อนี้ทำให้ตั้งข้อสงสัยว่าเราจะอยู่ในภาวะทางจิตวิญญาณอยู่เสมอได้อย่างไร นอกจากนี้ ถ้าภาวะร่างกายเป็นไปตามปกติ เราก็จะประเมินว่ามีสุขภาวะทางกาย (ในความหมายที่ว่ามีภาวะทางกายที่มีสุข) แต่ถ้าภาวะทางจิตวิญญาณเป็นอย่างที่เป็น

1 12 13 14 15 16 19