การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (3)

การประสบกับ “ความมีความหมาย” ไม่ว่าจะในรูปของการที่ “ความหมาย” กลายเป็น “ความมีความหมาย” หรือการขยายขอบเขต “ความมีความหมาย” หรือการที่ “ความมีความหมาย” เปลี่ยนไปอันเป็นผลจากการต่อสู่กับ “ความมีความหมาย” ดั้งเดิม

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (15)

แล้วครอบครัวเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมาก ก็คือจะมาเสริมแรงบวกเราตลอดเวลา อย่างเวลาคนไข้เขาชมหรือเขามีท่าทีที่มีความสุข เราก็รู้สึกอิ่มเอิบ ส่วนทีมงานนี่ก็มีผลมาก ทำให้เราทำงานได้เต็มกำลังความสามารถมากขึ้น สุดท้ายคือครอบครัว

การเล่นกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Free Play)

เด็กจะรู้สึกผูกพันและมั่นคงในอารมณ์ผ่านความสัมพันธ์ที่ดีกับพ่อแม่ ซึ่งความผูกพันและความสัมพันธ์ที่ดีต่อพ่อแม่นั้นจะเกิดขึ้นกับเด็กที่มีโอกาสเล่นกับพ่อแม่สม่ำเสมอ โดยพ่อแม่รู้จักตอบสนองอย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอกับเพื่อนก็เช่นกัน เด็กจะรู้สึกสนิทสนมกับเพื่อน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (2)

“กระบวนทัศน์” (paradigm) ที่ชี้ว่าการรับรู้โลกย่อมผ่านกรอบบางอย่างเสมอ นอกจากนี้ ยังเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าการสังเคราะห์ต้องอาศัยแนวคิดต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากตะวันตก แม้แนวคิดเรื่อง “จิตวิญญาณ” เอง ในที่สุดแล้ว ก็ต้องอาศัยนิยามของตะวันตก

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (14)

ดังชี้ข้างต้นแล้วว่าความตระหนักในความมีความหมายนั้นดูจะเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เมื่อใดที่บุคคลเริ่มยึดติดคุณค่าบางอย่างว่าเป็นตัวตนและหยุดเรียนรู้ ก็เสี่ยงที่จะสูญเสียซึ่งสมรรถนะทางจิตวิญญาณ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์”

ในปัจจุบัน แผนงานฯ มีจุดมุ่งหมายคล้ายกัน แต่ดำเนินการในบริบทการให้บริการทางการศึกษา ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่ามีส่วนสำคัญอย่างมากในการพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้เรียน อันเป็นคนกลุ่มใหญ่ ทั้งนี้ ได้เคยมีการสังเคราะห์กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาวะทางจิตปัญญา(หรือจิตวิญญาณ)

1 36 37 38 39 40 50