การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (19)

แผนชีวิต (life scheme) โดยออกแบบให้เป็นการวัดจิตวิญญาณในมิติเดียวที่เชื่อมโยงกับความผาสุกทางจิตวิญญาณในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วย 3 แบบวัดจิตวิญญาณ ที่พัฒนาโดย O’Connell & Skevington (2007) เป็นแบบวัดคุณภาพชีวิตใน

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (6) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

นอกจากนี้ องค์ประกอบสำคัญของสุขภาวะทางจิตวิญญาณอีกประการน่าจะเป็นเรื่องของ ทิศทาง ที่ช่วยให้บุคคลสามารถกำหนดได้ว่าจะก้าวพ้นจากตัวตนไปในทางใด ในขณะเดียวกัน ทิศทาง ก็จะช่วยให้บุคคลพิจารณาได้ว่าเมื่อใดเป็นเวลาที่ควรจะก้าวพ้นตัวตน

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (18)

การที่บุคคลสามารถมีความศรัทธาในพระเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ (high power) และมีความรู้สึกว่าตนเองใกล้ชิด หรือเชื่อมโยงกับความศรัทธานั้นได้ เป็นการแสดงถึงการมีจิตวิญญาณ แบบวัดในกลุ่มนี้วัดในเนื้อหาเกี่ยวกับ การตระหนัก ความรู้สึกว่ามีความใกล้ชิดกับสิ่งที่ศรัทธา

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (5) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

จิตวิญญาณ สุขภาวะทางจิตวิญญาณ สุขภาวะทางปัญญา มิติทางจิตวิญญาณของสุขภาพ สุขภาวะทางจิตปัญญา เป็นต้น ส่วนในภาษาอังกฤษมีการใช้คำว่า Spiritual หรือ Spirituality หรือ Spiritual health หรือ Spiritual well-being เป็นต้น

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (17)

การสร้างแบบวัดใหม่ มีการสร้างแบบวัดใหม่ 4 แบบวัด ได้แก่ The offender’s Spirituality scale, The transformative experience Questionnaire, The spirituality scale เป็นแบบวัดที่มีกลุ่มเป้าหมายและการนำไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (4) บทนำ

องค์การที่ได้นำเทคนิคในเรื่องจิตวิญญาณมาใช้เป็นพื้นฐานในการทำงาน จะมีการพัฒนาผลผลิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Colin, 1999 อ้างถึงใน Robbins, 2005) และยังพบว่า องค์การที่ให้บุคลากรหรือพนักงานมีโอกาสพัฒนาจิตวิญญาณจะมีผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าองค์การที่พนักงานไม่มีโอกาส

1 5 6 7 8 9 13