การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (4) บทนำ

องค์การที่ได้นำเทคนิคในเรื่องจิตวิญญาณมาใช้เป็นพื้นฐานในการทำงาน จะมีการพัฒนาผลผลิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Colin, 1999 อ้างถึงใน Robbins, 2005) และยังพบว่า องค์การที่ให้บุคลากรหรือพนักงานมีโอกาสพัฒนาจิตวิญญาณจะมีผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าองค์การที่พนักงานไม่มีโอกาส

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (3) บทคัดย่อ

กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เมตตากรุณา มีเป้าหมายและพอเพียง ให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์ อ่อนน้อมถ่อมตน ให้อภัย และมีความเป็นมิตร แบบวัดที่ได้มีค่าความเชื่อมั่น และมีอำนาจจำแนกอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ผลจากการพัฒนาในครั้งนี้คณะผู้วิจัยสามารถสร้างคู่มือการประเมินสุขภาวะทางจิตวิญญาณ