อุ้มบุญ (8) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ในด้านของความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2540 ได้กล่าวถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไว้ ซึ่งอาจมีความหมายแตกต่างแตกต่างกันออกไปได้

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (9)

สถานการณ์ที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์ต่อการดำเนินการหรือเข้าร่วมในกระบวนการเพื่อตอบสนองต่อปรากฏการณ์ เพื่อที่จะศึกษาว่าบุคคลมีปฏิกิริยาและแสดงปฏิกิริยาสนองต่อปรากฏการณ์อย่างไร ผู้วิจัยจะต้องเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ออกไปเยี่ยมเพื่อเก็บข้อมูลภาคสนามหลายครั้ง

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์” (16)

ห็นได้ว่า “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” หรือ “ศักดิ์ศรี” ในที่นี้มีความหมายตามที่ใช้ทั่วไป คือ “กล้าทำ กล้ารับ” และ “ศักดิ์ศรีลูกผู้ชาย” ซึ่งสัมพันธ์กับ “กล้าทำ กล้ารับ” ข้อนี้ไม่แน่ใจว่าถ้าเป็นเด็กผู้หญิงจะมีศักดิ์ศรีได้หรือไม่ แต่ประเด็นที่น่าสนใจได้แก่ “กล้าทำ กล้ารับ”

อุ้มบุญ (7) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ในกรณีของประเทศไทย แพทยสภาซึ่งมีบทบาทสำคัญในเรื่องนี้ได้ออกประกาศแพทยสภาที่ 1/2540 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ และประกาศแพทยสภาที่ 21/2545 เรื่องมาตรฐานการให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ฉบับที่ 2)

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (1)

คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (มสส.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) เป็นอย่างสูงที่กรุณาให้ทุนสนับสนุนการวิจัยในครั้งนี้ และขอขอบคุณคณะสังคมศาสตร์ และภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนสถานที่ อุปกรณ์การทำงานด้านต่างๆ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (8)

ความรัก ความปรารถนาดี ต้องการช่วยเหลือผู้อื่นประสบความสุข 2) มีกรุณาต่อผู้อื่น คือ มีความสงสารอยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ ใส่ใจที่จะบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของผู้อื่น 3) มีมุฑิตาต่อผู้อื่น คือ มีความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีใจแช่มชื่น

1 68 69 70 71 72 90