อุ้มบุญ (28) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ในประการต่อไปเป็นเรื่องขององค์กรว่า องค์กรที่จะต้องเข้ามาควบคุมกำกับดูแลในเรื่องนี้นั้นต้องมีเฉพาะหรือไม่ หรือจะปล่อยให้มีการกำหนดกฎหมายในลักษณะเป็นคำแนะนำหรือข้อควรปฏิบัติ (guideline) แล้วปล่อยให้ทางวิทยาศาสตร์หรือทางการแพทย์นั้นดูเป็นระยะๆ

อุ้มบุญ (10) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

เพราะฉะนั้นจึงอาจสรุปได้ว่า ตามหลักศาสนาต่างๆ มีความเห็นค่อนข้างสอดคล้องกันว่าการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์จะขัดกับหลักศีลธรรมในกรณีที่มีการทำอันตรายหรือทำลายชีวิตที่เกิดขึ้นแม้ยังพัฒนาไม่ถึงขั้นเป็นมนุษย์ก็ตาม

อุ้มบุญ (9) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ในแต่ละระดับอาจสอดคล้องกัน หรือขัดแย้งกันเองก็ได้ โดยเฉพาะในเรื่องเสรีภาพของปัจเจกชน (individual autonomy) ในการทำแท้ง การช่วยให้กำเนิดบุตรด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ กับการเคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ของกลุ่มชน สังคมและเผ่าพันธุ์มนุษย์

อุ้มบุญ (8) หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ในด้านของความหมายของหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2540 ได้กล่าวถึงหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ไว้ ซึ่งอาจมีความหมายแตกต่างแตกต่างกันออกไปได้

อุ้มบุญ (1) กฎหมายชีวจริยธรรม

ศึกษาทบทวนและระบุปัญหากฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ วิเคราะห์ช่องว่างหรือความไม่เหมาะสมของกฎหมายของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และเสนอแนวทางตลอดจนหลักการและเหตุผลในการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง