การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (8)

ความรัก ความปรารถนาดี ต้องการช่วยเหลือผู้อื่นประสบความสุข 2) มีกรุณาต่อผู้อื่น คือ มีความสงสารอยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ ใส่ใจที่จะบำบัดความทุกข์ยากเดือดร้อนของผู้อื่น 3) มีมุฑิตาต่อผู้อื่น คือ มีความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีใจแช่มชื่น

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (7)

บุคคลมีความคล่องตัวทั้งในพฤติกรรมและในชีวิตภายในที่เป็นตัวของตัวเองทั้งความคิดและแรงกระตุ้นต่าง ๆ พฤติกรรมของพวกเขาจึงมีความเป็นธรรมชาติและเรียบง่ายและปราศจากความเครียดในผลกระทบ รวมถึงการไม่ได้ถูกขัดขวางโดยธรรมเนียมประเพณี

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (6)

อย่างไรก็ตาม มาสโลว์ยอมรับว่า ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของเขายังมีข้อยกเว้นอยู่บ้าง คือบุคคลที่มีบุคลิกภาพเข้มแข็ง มีคุณสมบัติสร้างสรรค์สูงและมีความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization Needs) บุคคลเหล่านี้แม้ว่าได้รับการตอบสนองความพึงพอใจระดับเบื้องต้นไม่ค่อยบริบูรณ์

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (5)

ถ้าในบางสถานการณ์หากบุคคลมีความผูกพันด้านอารมณ์ทางบวกสูงแต่มีความผูกพันด้านปฏิสัมพันธ์ต่ำจะทำให้บุคคลมีความเด่นของเอกลักษณ์สูง ในทางกลับกันถ้าบุคคลมีความผูกพันด้านอารมณ์ทางลบสูงและมีความผูกพันด้านปฏิสัมพันธ์สูงจะทำให้บุคคลมีความเด่นของเอกลักษณ์ลดลง

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (4)

ความผูกพันด้านปฏิสัมพันธ์ (Interactional Commitment) หมายถึง ปริมาณของความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ ในเครือข่ายทางสังคมซึ่งทำให้ได้แสดงบทบาทหรือมีเอกลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (3)

ก่อรูปขึ้นในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งและถูกจัดลำดับความสำคัญที่ลดหลั่นอันทำให้เกิดตัวตน (Self) (Burke; & Reitzes. 1981: 84; citing stryker. 1968) เอกลักษณ์จะเกิดขึ้นบนพื้นฐานความคล้ายคลึงและความแตกต่างของบทบาทเมื่อเปรียบเทียบกับบทบาทอื่น ๆ

1 11 12 13 14 15 19