การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (20)

แรงจูงใจที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเสมือนคนในครอบครัว เชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในเป้าหมายของชีวิตและต้องการถ่ายทอดเรื่องจิตวิญญาณให้ผู้ป่วยได้เข้าใจต่อไป ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือทัศนคติในทางบวกต่อการทำงานที่เป็นผลมาจากการมีจิตวิญญาณในการทำงาน

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (32)

จากแนวคิดของการเรียนรู้สังคมของบุคคล ในส่วนของทฤษฎี Social cognitive theory นั้นกล่าวว่าบุคคลเรียนรู้จากสิ่งที่เห็น แต่เขาเลือกที่จะเรียนรู้บางสิ่งเท่านั้น โดยเงื่อนไขหรือองค์ประกอบที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) บุคคลผู้นั้นต้องมีคุณลักษณะที่เพียงพอ

อุ้มบุญ (30) การคุ้มครองตัวอ่อนนอกครรภ์

“เป็นทรัพย์หรือไม่” เพราะหากถือว่าเป็น “ทรัพย์” จะมีปัญหาตามมาหลายเรื่อง ลักษณะในเรื่องการกำหนดให้เป็น “ส่วนของร่างกาย” นี้ในกฎหมายมีความพยายามกำหนดให้ดูเหมือนว่าไม่เป็นหรือไม่เรียกว่า “ทรัพย์” โดยทั่วๆ ไป โดยกำหนดให้มีลักษณะพิเศษ

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (19)

วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมายด้วยคำถามเกี่ยวกับความตั้งใจ แรงบันดาลใจและความพยายามที่จะสร้างสรรค์ผลงานและทำการสอน ซึ่งผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบโดยทั่วไปของศิลปินจะถูกพัฒนาขึ้นบนเงื่อนไขของความตระหนักรู้อันจะนำไปสู่ประโยชน์สูงสุด

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลกรพ้านสาธารณสุข (31)

ประเด็นที่มีความคล้ายคลึงกันได้แก่ การมีจิตรับรู้ความทุกข์ มิตินี้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ “การเข้าถึงเข้าใจผู้อื่น” มิติด้าน การให้คุณค่าของวัตถุได้แต่น้อยกว่าจิตใจ คล้ายคลึงกับ “ เข้าถึงคุณค่าของจิตใจ” มิติด้าน มีความศรัทธาฯ และมิติด้าน transcendent คล้ายคลึงกับ “ ศรัทธาในความจริงที่เหนือธรรมชาติ”

อุ้มบุญ (29) เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธิและการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

องค์กรที่รับผิดชอบ ควรร่วมกันหลายหน่วยงาน แพทยสภาเองมักจะเป็นผู้ถูกกำหนดให้เป็นผู้ชี้ถูกผิด สำนักงานอัยการสูงสุด ซึ่งมักจะเป็นผู้ถูกให้ออกกฎหมาย แต่จะต้องมีอีกฝ่ายหนึ่งคือตัวแทนประชาชนหรือผู้ที่ได้รับการคัดสรรเพื่อที่จะออกความคิดเห็น

1 18 19 20 21 22 51