การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (20)

ในความเป็นจริงการมีประสบการณ์ทางจิตวิญญาณของบุคคลสาธารณสุขจะมีตลอดเวลาเนื่องจากวิชาชีพต้องเผชิญกับความทุกข์ ความตายของคนไข้อย่างใกล้ชิด ทำให้ตระหนักรู้ถึงความรู้สึกของคนไข้ ญาติ คนไข้ ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลคิดหาวิธีการช่วยเหลือเพื่อให้คนไข้พ้นทุกข์

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (19)

แผนชีวิต (life scheme) โดยออกแบบให้เป็นการวัดจิตวิญญาณในมิติเดียวที่เชื่อมโยงกับความผาสุกทางจิตวิญญาณในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วย 3 แบบวัดจิตวิญญาณ ที่พัฒนาโดย O’Connell & Skevington (2007) เป็นแบบวัดคุณภาพชีวิตใน

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (18)

การที่บุคคลสามารถมีความศรัทธาในพระเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ (high power) และมีความรู้สึกว่าตนเองใกล้ชิด หรือเชื่อมโยงกับความศรัทธานั้นได้ เป็นการแสดงถึงการมีจิตวิญญาณ แบบวัดในกลุ่มนี้วัดในเนื้อหาเกี่ยวกับ การตระหนัก ความรู้สึกว่ามีความใกล้ชิดกับสิ่งที่ศรัทธา

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (17)

การสร้างแบบวัดใหม่ มีการสร้างแบบวัดใหม่ 4 แบบวัด ได้แก่ The offender’s Spirituality scale, The transformative experience Questionnaire, The spirituality scale เป็นแบบวัดที่มีกลุ่มเป้าหมายและการนำไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (16)

เกิดอำนาจเหนือธรรมชาติ เกิดความรู้สึกกลมกลืนกันระหว่างตนเอง ผู้อื่น และความรู้สึกที่สามารถติดต่อกับพระเจ้าได้ หรืออาจออกมาในรูปของการกระทำ การปฏิบัติ หรือวิธีการต่าง ๆ ที่ผู้ป่วยแสดงออกเพื่อตอบสนองต่อความรู้สึกที่อยู่ในส่วนลึกของจิตใจ ความเชื่อ ความหวัง ความศรัทธา

การสร้างเครื่องมือประเมืนและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (15)

เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์เดิมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การแพทย์แบบเดิมที่ใช้ในการทำความเข้าใจชีวิตซึ่งมองชีวิตแบบแยกออกเป็นส่วนๆที่มุ่งเน้นแต่การตรวจวินิจฉัยรักษาโรค การจ่ายยาที่ถูกต้อง โดยขาดการมีปฏิสัมพันธ์และขาดการให้ความสำคัญกับมนุษย์ที่มาตรวจรักษา

1 9 10 11 12 13 19