อุ้มบุญ (22) ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)

ที่เรายังไม่รู้ เมื่อไม่รู้ก็ไม่เกิดความกลัวถึงผลกระทบหรือผลร้ายที่เกิดขึ้น ข้อที่ควรตระหนักก็คือ การก้าวไปข้างหน้าด้วยความไม่รู้ เลยทำให้ไม่กลัว เป็นการก้าวไปที่อันตรายอย่างยิ่ง

อุ้มบุญ (21) ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สามีของหญิงผู้ให้กำเนิดทารกเป็นบิดาของเด็ก ดังนั้นเด็กที่ปฏิสนธิจากอสุจิบริจาคจึงมีสิทธิได้รับมรดกของชายผู้เป็นสามีของมารดาตน เว้นแต่ศาลพิพากษาว่าเด็กมิใช่บุตรโดยชอบ

อุ้มบุญ (20) ปัญหากฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวที่เกิดขึ้น (ต่อ)

นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ความรับผิดชอบของบิดามารดาทางพันธุกรรมที่เป็นผู้ใช้อำนาจปกครองตามกฎหมายคือหน้าที่รับเด็กที่เกิดเป็นบุตรไม่ว่าในกรณีใดๆก็ตามเพื่อมิให้เกิดภาระแก่สังคมเมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเปลี่ยนใจ

อุ้มบุญ (19) ปัญหากฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวที่เกิดขึ้น (ต่อ)

เมื่อคู่สมรสไม่ให้ความยินยอมย่อมมีผลทางกฎหมายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสถานการณ์ กล่าวคือ การไม่ให้ความยินยอมโดยคู่สมรสของผู้ว่าจ้าง ไม่น่าจะเข้าข่ายเป็นเหตุในการฟ้องหย่าได้ แต่อาจเกิดปัญหาในการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมเนื่องจากต้องอาศัยความยินยอมของคู่สมรส

อุ้มบุญ (18) ปัญหากฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวที่เกิดขึ้น

กรณีการอุ้มบุญเคยมีข้อหารือจากกรมบัญชีกลางมายังคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับกรณีคู่สมรสซึ่งเป็นข้าราชการในสังกัดของมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าได้มีการแจ้งจำนวนบุตรพร้อมแสดงหลักฐานของทางราชการเพื่อขอรับสิทธิเบิกเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลและการศึกษาของบุตร

อุ้มบุญ (17) ปัญหากฎหมายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์เพื่อการปฏิสนธิเทียมและแนวทางแก้ไข (ต่อ)

อย่างไรก็ตามปัญหาสำคัญในเรื่องการคัดเลือกทางพันธุกรรมสำหรับตัวอ่อนคือ เทคนิคดังกล่าวจะนำไปสู่แนวคิดเรื่อง eugenics หรือไม่ โดยที่นักวิทยาศาสตร์ชื่อ Briton Francis Galton เป็นผู้บัญญัติคำดังกล่าวขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 19 เมื่อ ค.ศ.1885

1 5 6 7 8 9 15