โครงสร้างและระบบการบริหารจัดการ

วิสัยทัศน์ที่ดี จะถูกสื่อสารอย่างจริงจัง สื่อบ่อยๆ สื่อซ้ำๆ จนกว่าคุณครูทุกท่านจะเข้าใจ เราตั้งโรงเรียนเพื่ออะไร เราจะทำอะไรกับโรงเรียน ชวนคุณครูทุกท่านร่วมเรียนรู้ ร่วมเปลี่ยนแปลงตัวเอง พร้อมก้าวเดินไปข้างหน้าด้วยกัน อย่างเช่น โรงเรียนสร้างสุข

วิธีพัฒนาคนด้วยการสอบปรนัย ต่างจากพัฒนาคนด้วย refletion (ต่อ)

จริงอยู่ ที่คนเราสามารถเรียนรู้ได้โดยไม่ต้องทำ reflection และ self-reflection แต่การฝึกบ่อยๆ ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า ถ้าทำจะทำให้การเรียนรู้นั้นคมชัด ลึกซึ้ง และรวดเร็วกว่ามาก ใหม่ๆ ผู้เขียนเองก็สับสนและเข้าใจผิด มีความซ้ำซ้อนระหว่างการเล่าว่าตนเอง (ฟังเพื่อนเล่า) “เรียนรู้อะไร” กับการ “สรุปความ”

วิธีพัฒนาคนด้วยการสอบปรนัย ต่างจากพัฒนาคนด้วย refletion

เริ่มให้ครูแต่ละคนเล่า แต่ก่อนเริ่ม เราจะบอกเขาว่า ขอความร่วมมือ ไม่มีการบอกนะว่าของเขาดีไม่ดี ไม่ใส่ความคิดเห็นนะว่า ฉันทำดีกว่าอย่างนี้ แล้วก็จะบอกครูว่า เดี๋ยวเราเล่าจบแล้วเราค่อยถามกัน ขอให้คุณครูทุกท่านปิดมือถือ ซึ่งมันดึงดูดความสนใจเวลาฟังค่ะ ก็จะเริ่มให้ครูแต่ละคนเล่า

พรุ่งนี้…ก็ทำได้เลย (ต่อ)

จุดหนึ่งที่คุยกับเด็ก คือเด็กไม่ชอบเรียนภาษาไทย มันต้องอ่านเยอะ ต้องเขียนมาก นี่คือสิ่งที่เด็กบอก เรามานั่งมองว่า เราอยากให้เด็กเรียนภาษาไทยอย่างสนุก และชอบเรียน เราจะทำอย่างไร ภาษาไทยเป็นภาษาพื้นฐาน ที่เด็กจะต้องเอาไปเรียนรู้วิชาต่างๆ ก็เริ่มวิธีการของตัวเอง

ปฏิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (11) พรุ่งนี้…ก็ทำได้เลย (ต่อ)

คนที่เรียนเก่งไม่ได้เท่ากับว่าเก่งทุกเรื่อง” ประโยคนี้สำคัญ นักเรียนได้เรียนรู้ว่าคนที่เรียนเก่งไม่ได้แปลว่าจะต้องเก่งทุกเรื่อง ในการทำงานเป็นทีม เด็กที่เรียนไม่เก่งจะพบว่าตัวเองเก่งบางเรื่องเสมอ

ปฎิรูปการศึกษา ภาคลงมือทำจริง (10) พรุ่งนี้…ก็ทำได้เลย

แรกทีเดียวผู้เขียนคิดว่า โจทย์การเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชุมชนนั้น ต้องเป็นโจทย์ที่ใหญ่มาก คุณครูทำให้เห็นว่า การออกแบบการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับชุมชนเป็นเรื่องไม่ยาก และมีความเป็นไปได้ที่จะทำสำเร็จ แน่นอนแรกๆ อาจชุลมุนกันอยู่บ้างกับการทำความเข้าใจ ตีโจทย์ชุมชนมีกรอบหรือความหมายอย่างไร

1 2 3 4 5 18