การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (15) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

จากการทบทวนเอกสารพบว่า การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถทำได้ โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการ ทั้งปัจจัยที่เป็นการพัฒนาในระดับบุคคล โดยการทบทวนตนเอง การฝึกควบคุมอารมณ์ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (27)

การกระทำ ที่อธิบายได้ว่าผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทำงานโดยเห็นคุณค่าที่อยู่ในตัวของงาน ซึ่งตรงกันข้ามกับ การเห็นคุณค่าภายนอก ซึ่งหมายถึง คุณค่าของตัวงานขึ้นอยู่กับการที่ทำงานนั้นแล้วจะนำพาสิ่งอื่น ๆ มาให้ตัวเรา

อุ้มบุญ (25) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

ตรวจวินิจฉัยป้องกันทารกไม่ให้เกิดมาพร้อมกับโรคทางพันธุกรรม ในทางปฏิบัติแพทย์จะเลือกนำตัวอ่อนเฉพาะที่ตรวจไม่พบโรคทางพันธุกรรมนั้นๆ ใส่กลับเข้าไปในร่างกาย และด้วยวิธีดังกล่าวยังสามารถใช้ในการตรวจคัดเลือกเพศของตัวอ่อนได้ไปพร้อมกัน

การศึกษาและพัฒนาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณเพื่อการพัฒนา (14) การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ต่อ)

กำลังใจ บางครั้งการปฏิบัติงานท่ามกลางภาวะวิกฤติจะก่อให้เกิดความท้อแท้ในการทำงาน บรรยากาศการทำงานแย่ลง และส่งผลบั่นทอนจิตใจผู้ปฏิบัติงาน การได้รับเสียงสะท้อนที่ดี ก็จะเป็นเหมือนน้ำหล่อเลี้ยงจิตใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดพลังใจในการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อการพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (26)

แก่นของจิตวิญญาณในด้าน “การเข้าใจเข้าถึงผู้อื่น” นี้ประกอบด้วย การรับรู้ปัญหาและความทุกข์ ไวต่อความคิดความเชื่อ ที่ปรากฏตามรายละเอียดข้างต้น เป็นคุณลักษณะที่ปรากฏในผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรับรู้ความทุกข์ที่แสดงถึงการรับรู้ความทุกข์และปัญหาของคนใกล้ชิด คนไข้ ผู้ดูแลคนไข้ และเพื่อนร่วมงาน

อุ้มบุญ (24) ข้อพิจารณาและผลกระทบทางการวิจัยทางการแพทย์และเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ต่อ)

สถานะทางกฏหมายของเซลล์สืบพันธุ์ ตัวอ่อน มีความสำคัญต่อการพิจารณาระดับความคุ้มครองทางกฎหมาย เมื่อมีข้อพิพาท รวมถึงกรณีของผู้ใช้สิทธิดำเนินการต่อสิ่งเหล่านี้ และสิทธิของตัวอ่อนและเด็กที่อาจเกิดขึ้น

1 20 21 22 23 24 50