ข้อพิจารณาเกี่ยวกับนิยามสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ (2)

นอกจากนี้ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับบทบาทของจิตวิญญาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเห็นว่าสำหรับภิรมย์ กมลรัตนกุล และวิโรจน์ เจียมจรัสรังสีแล้ว สติปัญญาดูจะเป็นสมรรถนะที่มีบทบาทที่ประเวศ วะสี และโกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เห็นว่าเป็นบทบาทของจิตวิญญาณ นั่นคือ การจัดการกับภาวการณ์ดำรงอยู่

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับนิยามสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ (1)

ความรู้และความสามารถในการเรียนรู้และเห็นว่าหากบุคคลมีสุขภาวะทางปัญญาก็จะสามารถมีสุขภาวะด้านอื่น ๆ ด้วย ในทางกลับกัน สุขภาวะด้านอื่น ๆ ที่พัฒนาบนพื้นฐานของสุขภาวะทางปัญญานี้ ในที่สุดและจะย้อนกลับมาสนับสนุนสุขภาวะทางปัญญาด้วย

คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ตอนที่ 28

การทำงานในขอบเขตหน้าที่และการทำงานเกินหน้าที่ การทำงานในขอบเขตหน้าที่ของผู้เข้าร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นั้นต่างไปจากบุคลากรทั่วไป เนื่องจากแม้เป็นงานในหน้าที่ แต่ก็กระทำด้วยสำนึกเปี่ยมล้นถึงอุดมการณ์วิชาชีพ หรือหน้าที่ความเป็นข้าราชการ

คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ตอนที่ 27

เมื่อมองจากมุมของบุคลากรแล้ว ดูเหมือนว่าจะเห็นว่าผู้ต้องขังมีอัตลักษณ์แล้ว นั่นคือ มีอัตลักษณ์ในฐานะผู้ต้องขัง ไม่ใช่อัตลักษณ์ของ “นางสาว ก.” ที่กลายเป็นผู้ต้องขังและกำลังดิ้นรนเพื่อฟื้นฟูอัตลักษณ์กลับมาเป็น “นางสาว ก.” อีกครั้งหนึ่ง

คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ตอนที่ 26

ทัศนคติของผู้พิพากษาที่มุ่งมองไปที่คุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ของบุคคลเหล่านี้โดยตรง ทัศนคติดังกล่าวมีพื้นฐานจากความเป็นนักวิชาชีพ อันแยกไม่ขาดจากความเป็นข้าราชการ นอกจากนี้ ยังมีพื้นฐานจากความรู้สึกเห็นอกเห็นใจในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วย

คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ตอนที่ 25

การปกป้องหรือรักษาสิทธิของจำเลยหรือผู้ต้องโทษ แม้ในกรณีของการฟื้นฟูเยาวชนผู้กระทำผิดนั้น แม้จะดูเหมือนเป็นการช่วยให้เยาวชนตระหนักถึงคุณค่าในฐานะปัจเจกบุคคลของตน แต่จริงๆ แล้วจัดเป็นการเคารพสิทธิพื้นฐานเช่นกัน

1 16 17 18 19