Blog Right Sidebar

ดนตรีกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ตอนที่ 2

กล้าแสดงออก มีความมั่นใจในตนเอง ทั้งช่วยฝึกให้ใช้ความคิดและจินตนาการอย่างเต็มที่ในช่วงวัย 2-5 ปี ถือเป็นช่วงวัยที่เด็กจะมีความเป็นตัวของตัวเองมาก ชอบทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองและไม่ชอบการถูกบีบบังคับ และในช่วงวัย 4-7 ปี ถือเป็นวัยแห่งการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (8)

ดังนั้น แม้พิจารณา “จิตวิญญาณ” ในฐานะความตระหนักในความมีความหมายนั้นต้องอาศัยการประสานงานระหว่างความคิดและความรู้สึก แต่ก็ดูเหมือนว่าความคิดจะได้รับบทบาทหลัก ในยามที่คนพยายามหาวิธีการเพื่อบรรลุสู่ความตระหนักนี้

ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา

เมื่อประมาณสามสี่สิบปีก่อน ลูกจีนโพ้นทะเลคนหนึ่งซึ่งใช้แซ่ตามบิดามารดามีทางเลือกสองทาง ทางหนึ่งคือไปทำงานสำเพ็งเป็นกุลีหรือลูกจ้างนายห้างสักแห่ง อีกทางหนึ่งคือเข้าโรงเรียนเรียนหนังสือ

ดนตรีกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย

คุณรู้หรือไม่ว่า ตามปกติทารกสามารถรับรู้เรื่องการได้ยินเสียงตั้งแต่มีอายุอยู่ในครรภ์มารดาประมาณ 4 ถึง 5 เดือน โดยมีจังหวะหัวใจของคุณแม่เป็นจังหวะดนตรี เมื่อแรกเกิดจนถึง 2 ขวบ มีการรับรู้ดนตรีโดยการใช้สายตาและสามารถหันศีรษะตามแหล่งที่มาของเสียง ทั้งตอบสนองต่อเสียงร้อง

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (7)

อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์น่าจะมุ่งหาวิธีการที่บุคคลกระทำต่อตนเองหรือผู้อื่นในอันที่จะสร้างความมีความหมายให้เกิดขึ้นมา เพื่อที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่ควบคุมได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

ทักษะแห่งศตวรรษที่21 ตอนที่ 4

เด็กไทยจะเป็นคนอยากรู้ ใฝ่เรียนรู้ รู้วิธีหาความรู้ สามารถเรียนรู้ได้จากทุกที่ทุกเวลา กล้าตั้งข้อสงสัย รู้วิธีตั้งคำถาม สามารถทำงานเป็นทีม มีความคิดสร้างสรรค์ และมีนวัตกรรม ในขณะเดียวกันรู้จุดหมายของชีวิต มีแรงบันดาลใจและรู้จักวางแผน กล้าตัดสินใจและรับผิดชอบผลลัพธ์ของการตัดสินใจ

1 81 82 83 84 85 92