การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (26)

แก่นของจิตวิญญาณในด้าน “การเข้าใจเข้าถึงผู้อื่น” นี้ประกอบด้วย การรับรู้ปัญหาและความทุกข์ ไวต่อความคิดความเชื่อ ที่ปรากฏตามรายละเอียดข้างต้น เป็นคุณลักษณะที่ปรากฏในผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการรับรู้ความทุกข์ที่แสดงถึงการรับรู้ความทุกข์และปัญหาของคนใกล้ชิด คนไข้ ผู้ดูแลคนไข้ และเพื่อนร่วมงาน

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (25)

ความคิดอ่านก็จะเปลี่ยนไป ก็คิดเชิงบวกมากขึ้น คิดให้อภัยกันเป็น คิดให้โอกาสกันเป็นมากขึ้น ใจอยู่ตรงความคิดอ่านซึ่งมันจะเป็นผลต่อการกระทำ การกระทำเราก็จะเปลี่ยนไป

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (24)

ตัวอย่างของศรัทธาที่แสดงออกของกลุ่มตัวอย่างข้างต้นครอบคลุมศรัทธาทั้ง 3 ประเภท ในแต่ละประเภทก็มีรายละเอียดที่แตกต่าง ศรัทธาที่ปรากฏในข้อมูลทุกภาคคือ ศรัทธาที่มีต่อคำสอนในศาสนาไม่ว่าจะเป็นพุทธ หรือ อิสลาม ได้แก่ความเชื่อเรื่องการทำดีได้ดี กฎแห่งกรรม เชื่อความเมตตา ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ชาตินี้ชาติหน้า

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (23)

ด้านตระหนักรับรู้ความตายนี้ มีประเด็นอภิปราย คือ ในอาชีพของการเป็นพยาบาล หมอหรืออาสาสมัครที่ต้องทำงานใกล้ชิดกับการเจ็บป่วย ความทุกข์ การตายของผู้ป่วยนี้ ผู้มีจิตวิญญาณจะมีความอ่อนไหวต่อความตายสูงกว่าผู้ที่มีจิตวิญญาณต่ำ การที่กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้แสดงความอ่อนไหวต่อการสูญเสียคนไข้นี้

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวฃี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลกรด้านสาธารณสุข (22)

ลักษณะด้านการเข้าใจความหมายของชีวิต เป็นอีกส่วนหนึ่งของแก่นของจิตวิญญาณด้านแรกนี้ ที่ไม่อาจแยกส่วนออกจากการมีเป้าหมายในชีวิต กล่าวคือกลุ่มตัวอย่างได้แสดงให้เห็นถึงการเข้าใจชีวิต จากการเรียนรู้ในประสบการณ์ที่ทำงานตามเป้าหมายของเขา

การสร้างเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดระดับการพัฒนาจิตวิญญาณ สำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข (21)

บรรยากาศการทำงาน เป็นคุณภาพของสภาพแวดล้อมในหน่วยงานที่เกิดจากประสบการณ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและตั้งอยู่บนพื้นฐานของการรับรู้ที่สะสมมาของพฤติกรรมในหน่วยงาน บรรยากาศการทำงานเป็นลักษณะภายในซึ่งแยกความแตกต่างระหว่างหน่วยงานหนึ่งกับหน่วยงานอื่น ๆ

1 8 9 10 11 12 19