มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น พฤติกรรมเชิงจริยธรรม พฤติกรรมการเสียสละ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ผลการปฏิบัติงานที่เหนือความคาดหมาย โดยวัดทั้งระดับสุขภาวะทางจิตวิญญาณและพฤติกรรมเป้าหมาย จากนั้น จึงศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสุขภาวะทางจิตวิญญาณและตัวแปรทางพฤติกรรมดังกล่าว ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร เพื่อประโยชน์ในการขยายองค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณให้มากยิ่งขึ้น
3. ควรนำแนวทางในการพัฒนาเครื่องมือประเมินสุขภาวะทางจิตวิญญาณฉบับนี้ ไปใช้ศึกษาบุคคลในบริบทการทำงานในกลุ่มอื่นๆ เช่น นักการเมือง นักธุรกิจและผู้ประกอบการ ข้าราชการ เป็นต้น
4. ควรมีการศึกษาข้ามวัฒนธรรมเพื่อศึกษาแนวคิดทางสุขภาวะทางจิตวิญญาณของไทยเปรียบเทียบกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณของต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปรียบเทียบกับแนวทางทางตะวันตก
5. การกำหนดเกณฑ์พิจารณาระดับสุขภาวะทางจิตวิญญาณสำหรับการประเมินในครั้งต่อไป สามารถกำหนดเกณฑ์การพิจารณาบนฐานข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างที่ได้นำเครื่องมือประเมินไปใช้ โดยการใช้สถิติวิเคราะห์เช่นเดียวกับที่งานวิจัยฉบับนี้ได้ดำเนินการไว้ ซึ่งจะสามารถแบ่งระดับสุขภาวะทางจิตวิญญาณทั้งกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำได้อย่างเหมาะสมตามหลักการทางสถิติ
เอกสารอ้างอิง
กุศล สุนทรธาดา, ภาณี วงษ์เอก, กมลชนก ขําสุวรรณ. (2552). การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา (จิตวิญญาณ) จากเรื่องเล่าความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ : ทุนทางสังคมของระบบสุขภาพที่เอื้อต่อหรือสามารถนำไปใช้ขับเคลื่อนงานพัฒนาจิตวิญญาณ. รายงานฉบับสมบูรณ์, มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2549). ทบทวนวิธีคิดเรื่องจิตวิญญาณ: การวิเคราะห์เชิงปรัชญาและแนวคิด. มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
ชลลดา ทองทวี, จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร, ธีระพล เต็มอุดม, พงษธร ตันติฤทธิศักดิ์ และสรยุทธ รัตนพจนารถ (2551). รายงานการวิจัย เรื่อง จิตตปัญญาพฤกษา: การสำรวจและสังเคราะห์ความรู้จิตตปัญญาศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.
เดชรัต สุขกำเนิด, วิชัย เอกพลากร, ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์. (2545). การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ เพื่อการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ:แนวคิด แนวทาง และแนวปฏิบัติ.แผนงานการวิจัยและพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ดำรงค์ แวอาลี. (2552). สุขภาพจิตในทัศนะอิสลาม (Online). http://timaweb. org/index.php?option=com_content&view=article&id=16:2009-01-19-08-57-36&catid=5:-2008&Itemid=5. ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2552.
นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช, คนึงนิจ ไชยลังการณ์, ลินจง โปธิบาลและจิตราวดี จิตจันทร์. (2552). การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา (วิญญาณ) จากเรื่องเล่าความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ: พัฒนาการทางจิตวิญญาณและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. รายงานฉบับสมบูรณ์, โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่และแผนงานพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
บุบผา ชอบใช้ (2543). รายงานการวิจัย เรื่อง ความสามารถทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยในมิติจิตวิญญาณ. คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
บุปผา ชอบใช้. (2546). การพยาบาลในมิติจิตวิญญาณโดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็นหลัก. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปกรณ์ สิงห์สุริยา. (2552). การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา(วิญญาณ) จากการเล่าเรื่องความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ : กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ. รายงานฉบับสมบูรณ์, มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
ประเวศ วะสี. (2547). การพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพสู่สุขภาวะ จากการมีจิตใจสูงทั้งประเทศ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์. อ้างใน ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. (2552). 19 ปุจฉา พัฒนาจิตวิญญาณ. เลย : รุ่งแสงธุรกิจการพิมพ์.
ประเวศ วะสี. (2551). สุขภาวะทางปัญญา. มติชนรายวัน. 14 มิถุนายน 2551. ใน ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. (2552). 19 ปุจฉา พัฒนาจิตวิญญาณ. เลย : รุ่งแสงธุรกิจการพิมพ์.
ประเวศ วะสี. (2552). ปาฐกถา เรื่อง ภาพรวมความเคลื่อนไหว Spiritual Health in Thailand. สรุปการประชุม สานจิตรเสวนา : มหกรรมความรู้การพัฒนาจิต. 11 – 12 กันยายน 2552 ศูนย์การประชุมไบเทค บางนา. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์.
พงค์เทพ สุธีรวุฒิ. (2548). ขอบเขตของสุขภาวะทางจิตวิญญาณในบริบทไทย. 15 มีนาคม 2553. http://gotoknow.org/blog/researchmanagement/6002
พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต. (2549). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
ฟาริดา อิบราฮิม (2534). เรื่องของจิตวิญญาณ ใน อรพินท์ วีระฉัตร. (2534). การพยาบาลในมิติจิตวิญญาณ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
รอฮานิ เจอะอาแซ, วันดี สุทธรังษี, กิตติกร นิลมานัต, รัศมี สังข์ทอง. (2552ก). การบริบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ท่ามกลางสถานการณ์วิกฤติ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
รอฮานิ เจอะอาแซ, วันดี สุทธรังษี, กิตติกร นิลมานัต, ศรีสุดา วนาลีสิน, ฟูซียะห์ หะยี, จุรีย์ ธีรัชกุล, สุนีย์ นิยมเดชา. (2552ข). เรื่องเล่าความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ : การบริบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ที่สอดคล้องกับวิถีมุสลิม. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2549). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การทดสอบและการวัดทางจิตวิทยา. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมพร สุทัศนีย์. (2544). การทดสอบทางจิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิริอร วิชชาวุธและคณะ. (2550). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์. (2551). คู่มือการวัดทางจิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ เมดิคัล มีเดีย.
สุวรรณา สถาอานันท์ ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2549). ทบทวนวิธีคิดเรื่องจิตวิญญาณ: การวิเคราะห์เชิงปรัชญาและแนวคิด. มูลนิธิสดศรี–สฤษดิ์วงศ์.
องค์การอนามัยโลก. 2537. อ้างใน ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. 2552. 19 ปุจฉา พัฒนาจิตวิญญาณ. เลย : รุ่งแสงธุรกิจการพิมพ์.
อลงกรณ์ มีสุทธาและสมิต สัชฌุกร. (2540). การประเมินผลการปฏิบัติงาน : แนวความคิด หลักการ วิธีการ และกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประชาชน จำกัด.
อวยพร ตัณมุขยกุล, 2534 การตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาณโดยใช้กระบวนการพยาบาล. ใน อรพินท์ วีรฉัตร (บรรณาธิการ) การพยาบาลในมิติจิตวิญญาณ (หน้า 36-47) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ เรือนแก้วการพิมพ์. อ้างถึงใน บุปผา ชอบใช้, 2546. การพยาบาลในมิติจิตวิญญาณโดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็นหลัก. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อารยา พรายแย้ม และคณะ. (2552). การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา (วิญญาณ) จากเรื่องเล่าความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ. รายงานฉบับสมบูรณ์, มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
Abdullah, A.G. K., Alzaidiyeen, N.J., and Aldarabah. (2009). Workplance Spirituality and Leadership Effectiveness Among Educational Management in Malaysia. European Journal of Sciences. 10(2): 304-316.
Adler, M.J. (1992). Truth in religion: Plurality of religions and unity of truth. New York: Collier Books. in Marques, J., Dhiman, S. and King, R. (2007). Spirituality in the Workplace: What It Is, Why It Matters, How to Make It Work for You. Personhood Press.
Allport, G. W. (1950). The individual and his religion. New York: McMillan.
Anastasi, A. (1968). Psychological testing. New York: The Macmillan Company.
Arme´nio Rego and Miguel Pina e Cunha. (2008). Workplace spirituality and organizational commitment: an empirical study. Journal of Organizational Change Management. 21(1): 53-75.
Beazley, H. 1998. Meaning and measurement of spirituality in organisational settings: Development of a spirituality assessment scale (Honesty, Humility, Service to others). Dissertation Abstract: The George Washington University, USA. In Benefiel, M. (2003). Mapping the terrain of spirituality in organizations research. Journal of Organizational Change Management. 16(4), pp.367-77.
Bennet, A. and Bennet, D. (2007). The knowledge and knowing of spiritual learning. The journal of information and knowledge management systems. 37(2), 150-168.
Block, P. (1993). Stewardship: Choosing Service over Self-interest. Berrett-Koehler Publishers,San Francisco,CA. In Milliman. J., Ferguson, J., Trickett, D. and Condemi B. (1999). (1999). Spirit and community at Southwest Airlines: An investigation of a spiritual values-based model. Journal of Organizational Change Management. Vol. 12 No.3 1999 :221-233.
Bolander, V. B. (1994). Sorensen and luckmann’s basic nursing : A psychophysiologic approach. Philadelphia: W. B. Saunders. อ้างถึงใน บุปผา ชอบใช้, 2546.การพยาบาลในมิติจิตวิญญาณโดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็นหลัก .ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.