[เดินทางตามความคิด] 2nd new things to do in life@Singapore
เมื่อการเดินทางคืออีกหนึ่งการเรียนรู้
และเมื่อความกลัวเปลี่ยนเป็นความชอบ
“ทำสิ่งที่ไม่เคยทำอย่างที่ 2 ในชีวิตวันนี้นั่งรถเมล์ไปไหนมาไหนคนเดียวในสิงคโปร์”
เมื่อการเดินทางคืออีกหนึ่งการเรียนรู้
และเมื่อความกลัวเปลี่ยนเป็นความชอบ
“ทำสิ่งที่ไม่เคยทำอย่างที่ 2 ในชีวิตวันนี้นั่งรถเมล์ไปไหนมาไหนคนเดียวในสิงคโปร์”
โรงเรียนที่ใช่ แปลจาก http://www.nytimes.com/2016/11/06/opinion/sunday/schools-that-work.html?_r=1 ที่มา : http://www.nytimes.com เมื่อต้องอ่านออกเสียงพร้อมกันในชั้นเรียน เธอสับสนและตามเพื่อนไม่ทัน “อลันนา คลาร์ก” มีความบกพร่องทางการอ่านเช่นเดียวกับพี่สาว พี่สาวของเธอถูกโรงเรียนผลักเข้าวิทยาลัยจนล้มเหลวทางการเรียน ด้วยกลัวประวัติศาสตร์จะซ้ำลอย แม่ของอลันนาจึงส่งเธอไปชิงสลากที่ช่วยให้ไปเรียนไกลบ้าน อลันนาชนะรางวัล และวันนี้เธอคือนักเรียนเกรด 10 ของโรงเรียนทางเลือกในกำกับรัฐบาลที่บอสตัน ชื่อว่า “Match”
วันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม 2559 ณ ห้อง 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการเปิดตัวหนังสือ Finnish Lessons 2.0 “จะปฏิรูปการศึกษาอย่างไรให้สำเร็จ บทเรียนแนวใหม่จากฟินแลนด์” ซึ่งมี ปาฐกถานำ โดย Dr. Pasi Sahlberg นักคิดด้านการศึกษาระดับโลก ผู้เขียน Finnish Lessons 2.0 พวกเราทีมงาน เพจ ‘คิดเปลียนเรียนรู้’ ไปเข้าร่วมเรียนรู้และถอดบทเรียนออกมาเป็นเนื้อหาในบทความบทนี้
ครูนิรนามจากประเทศอังกฤษ เล่าว่า
ปัจจุบันมีครูสายพันธุ์ประหลาดแพร่กระจายอยู่ทั่วทุกระดับชั้นเรียน ครูประเภทนี้ไม่มีอารมณ์ขัน ไม่คิดนอกกรอบ และไม่สนใจประสบการณ์นอกชั้นเรียน พวกเขาบูชาเพียงแผนการเรียนและการประเมินผล
ในขณะที่ครูอีกสายพันธุ์หนึ่งที่เขาเคยพบเจอสมัยเด็ก พานักเรียนออกไปที่ฟาร์ม ไปอยู่กับสัตว์ ทำให้การเรียนมีชีวิตชีวา และนั่นเป็นครูที่ดีที่สุดสำหรับเขา
ซาร่า แอล มูลลา (Sara Al Mulla) ชื่นชมความมีวินัยและการเคารพกฎของคนญี่ปุ่น ซึ่งต้นตอของนิสัยเหล่านี้มาจากหนังสือเรียนที่มีเนื้อหาเป็นตัวการ์ตูน เพราะการ์ตูนทำให้เด็กเข้าใจประเด็นซับซ้อนได้อย่างง่ายดาย โดยเฉพาะในเรื่องของการเป็นพลเมืองที่ดี
The world’s first streets named after street kids.
การศึกษาที่ดีอาจไม่ได้ถึงเพียงแค่การมอบความรู้ แต่ยังรวมไปถึงการสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียน “รู้สึก” ว่าการเรียนมีคุณค่าและความหมาย